พระธรรมคำสอนพระสัมมาสัมพุทธเจ้า

วันพุธที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2564

นมัสการในเวลาระหว่างวัน


บทพิธีนมัสการในเวลาระหว่างวัน ตั้งแต่เวลาตีสี่ขื้นไปจนถึงเวลาพักผ่อนนอนหลับควรทำนมัสการอย่างน้อยวันละ1ครั้งขื้น

ก่อนอื่นกราบพระรัตนตรัย3ครั้ง

นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
คำนมัสการบูชาพระรัตนตรัย
อิมินา สักกาเรนะ ตัง พุทธัง อะภิปูชะยามิอิมินา สักกาเรนะ ตัง ธัมมัง อะภิปูชะยามิอิมินา สักกาเรนะ ตัง สังฆัง อะภิปูชะยามิ

คำนมัสการพระรัตนตรัย
อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ ฯ (กราบ)
สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม ธัมมัง นะมัสสามิ ฯ (กราบ)
สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สังฆัง นะมามิ ฯ (กราบ)

คำนมัสการ อาราธนาศิล
มะยัง ภันเต วิสุง วิสุง รักขะนัตถายะ ติสะระเณนะ สะหะ ปัญจะ สีลานิ ยาจามะ
ทุติยัมปิ มะยังภันเต วิสุง วิสุง รักขะนัตถายะ ติสะระเณนะ สะหะ ปัญจะ สีลานิ ยาจามะ
ตะติยัมปิ มะยังภันเต วิสุง วิสุง รักขะนัตถายะ ติสะระเณนะ สะหะ ปัญจะ สีลานิ ยาจามะ
คำนมัสการสรรเสริญพระพุทธเจ้า
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
นมัสการไตรสรณคมน์
พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
คำนมัสการ สมาทานศีล 5
ปาณาติปาตา เวระมณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
อทินนาทานา เวระมณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
กาเมสุมิจฉาจารา เวระมณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
มุสาวาทา เวระมณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
ข้าพเจ้าขอตั้งสัจจะจิตอธิษฐานต่อพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ พระมหาโพธิสัตว์ทั้งหลาย องค์เทพเทวาอารักษ์ทั้งหลาย ต่อแต่นี้ไปข้าพเจ้าจะขอรักษาศีล 5 ให้บริสุทธิ์ดังเดิม 
บัดนี้ข้าพเจ้า... ตั้งใจรักษาศีลแล้ว, บัดนี้ข้าพเจ้า... คือผู้มีศีล,
ข้าพเจ้าผู้มีศีล ละอาย ต่อการทำความชั่ว กลัว ต่อผลของบาปกรรม,
ข้าพเจ้าผู้มีศีล มีหิริโอตตัปปะ, มีกายเป็นมนุษย์ มีใจเป็นเทวดา,
เป็นมนุสสเทโว เข้าถึงความเป็นสหาย กับเหล่าเทวดาทั้งหลาย,
ขอ เทพ พรหม เทวดาทั้งหลาย ผู้เป็นสหายของข้าพเจ้า ร่วมโมทนาบุญ
และ เมตตา ปกป้อง คุ้มครองรักษา ข้าพเจ้า ด้วยเทอญสาธุ
ข้าพเจ้าเจริญภาวนาขอตั้งจิตอธิษฐานสัจจะว่าข้าพเจัาขอรักษาศิลห้าให้บริบูรณ์ดีครบทุกประการโดยอย่างเคร่งครัดด้วยตลอดเวลา ด้วยการเจริญภาวนาว่ารู้ลมหายใจเข้าออกทุกครั้งไป พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ตลอดทุกอริยาบททุกเวลาทุกสภาวะอารมณ์ของข้าพเจ้าทุกเมื่อเทอญสาธุ
อิมานิ ปัญจะ สิกขาปะทานิ สะมาทิยามิ (กล่าว 3 จบ)

คำนมัสการขอขมากรรมพระรัตนตรัย
สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะ เม ภันเต อุกาสะ ทะวารัตตะเยนะ กะตัง 
สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะ เม ภันเต อุกาสะ ขะมามิ ภันเต 
กายะกัมมัง วะจีกัมมัง มะโนกัมมัง สัญจิจจะกัมมัง
อะสัญจิจจะกัมมัง ขะมันตุ เม อะโหสิกัมมัง ภะวะตุ เม
หากข้าพเจ้า จงใจหรือประมาทพลาดพลั้ง ล่วงเกินบิดา-มารดา ครูบาอาจารย์ พระพุทธ พระธรรม พระอรหันต์ทุกพระองค์ พระอริยสงฆ์เจ้า ตลอดจนสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลาย รวมถึงผู้มีพระคุณ และท่านเจ้ากรรมนายเวร จะด้วยกาย วาจา ใจ 
ขอได้โปรดอโหสิกรรมแก่ข้าพเจ้าด้วย หากข้าพเจ้ามีเจ้าของในตัวติดตามมา ข้าพเจ้าขออนุญาตมีคู่ มีครอบครัวได้เหมือนคนปกติทั่วไป ขอถอนคำอธิษฐาน คำสาบานที่จะติดตามคู่ในอดีตขอให้ต่างฝ่ายต่างเป็นอิสระ ข้าพเจ้าจะประพฤติตนในทางที่ถูก ที่ชอบ ที่ควร ขอบุญบารมีในอดีตกาลที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบัน จงส่งผลให้ข้าพเจ้าและครอบครัว ตลอดจนบริวารที่เกี่ยวข้อง จงเจริญด้วยอายุ วรรณะ สุขะ พละ ลาภ ยศ สรรเสริญ สติปัญญา ปฏิภาณ ธนสารสมบัติ อุปสรรคใด ๆ โรคภัยใด ๆ ขอให้มลายสิ้นไป ขอให้ข้าพเจ้ามีความสว่างทั้งทางโลกและทางธรรม ตั้งแต่บัดนี้จนตราบเข้าสู่นิพพานเทอญ 
ข้าพเจ้าขอถอนคำสัญญา คำสาบาน คำอธิษฐาน ที่ผูกมัดตัวเองและผู้อื่น ขอให้ต่างฝ่ายต่างเป็นอิสระจากสัญญาทั้งปวง (หากข้าพเจ้าหมดอายุแล้ว ข้าพเจ้าขออยู่ต่อเพื่อสร้างบารมี) หากมีผู้ใดเคยสร้างเวรสร้างกรรมกับข้าพเจ้า ไม่ว่าจะชาติใดภพใดก็ตาม ข้าพเจ้ายินดีอโหสิกรรมให้ ขอถอนความอาฆาต ความพยาบาท และคำสาปแช่งในทุกชาติ ทุกภพ ขอให้ข้าพเจ้าพ้นจากคำสาปแช่งของปวงชนของเจ้ากรรม ขอให้พ้นจากนรกภูมิ และพบแสงสว่างทั้งทางโลกและทางธรรมด้วยเทอญสาธุ
กรรมใดๆ ไม่ว่าจะเป็น กายกรรม วจีกรรม มโนกรรม ที่ข้าพเจ้าได้ทำล่วงเกินแก่ผู้ใดทั้งโดยตั้งใจก็ดี ไม่ได้ตั้งใจก็ดี ในภพชาติใดก็ตาม ขอให้เจ้ากรรม นายเวรทั้งหลาย จงโปรดยกโทษ ให้เป็นอโหสิกรรมให้แก่ข้าพเจ้าอย่าได้ จองเวรจองกรรม ต่อกันอีกเลย แม้แต่กรรมใดที่ใครๆ ทำแก่ข้าพเจ้าก็ตาม ข้าพเจ้าขออโหสิกรรม ให้ทั้งสิ้น …. ยกถวายพระพุทธเจ้า เป็นอภัยทาน ขอจงดลใจให้เขาเหล่านั้น กลับมีเมตตาจิต คิดเป็นมิตรกับข้าพเจ้า เพื่อจะได้ไม่มีเวรกรรมต่อกันตลอดไป 
ด้วยอานิสงส์แห่งอภัยทานนี้ ขอให้ข้าพเจ้า พร้อมทั้งครอบครัว ตลอดจน…วงศาคณาญาติ ผู้มีอุปการคุณ ของข้าพเจ้าพ้นจากความทุกข์ยาก ลำบาก เข็ญใจ ความทุกข์อย่าได้ใกล้ ความเจ็บไข้อย่าได้มี ขอให้มีความสุขสวัสดี มีชัย เสนียดจัญไร และ อุปัทวันตรายทั้งหลาย จงเสื่อมสิ้นหายไป นึกคิดปรารถนาสิ่งใด ที่เป็นไปโดยชอบ ประกอบด้วยธรรม ขอให้สิ่งนั้น จงสำเร็จพลัน เทอญ "นิพพานัง ปัจจะโย โหตุ" ข้าพเจ้า ณ บัดนี้เกิดจิตสำนึกผิดถึงผลกรรมที่ส่งผล แม้ในภพนี้ข้าพเจ้าจะจำไม่ได้ก็ดี ข้าพเจ้าก็ขอขมาต่อโทษของภพใหม่ที่ปิดบังต่อความทุจริตที่มีต่อพวกท่านทั้งหลาย บัดนี้ข้าพเจ้ารู้สึกผิดชอบชั่วดี จึงขอขมาลาโทษต่อพวกท่านทั้งหลาย อย่าได้มีเวรแก่กันและกันเลย 
อย่าได้ผูกเวรแก่กันและกันเลย
ขอให้บุญใดๆ ที่เกิดมาจากกาย วาจา ใจ สุจริตทั้งหมดทั้งสิ้นของข้าพเจ้า จงเกิดเป็นบุญที่กาย ที่จิตของท่าน ขอความเป็นผู้หมดสิ้นไปในเวรในกรรม จงมีแก่ท่านและข้าพเจ้า ณ กาลบัดนี้เทอญ..สาธุ
ด้วยตลอดเวลาด้วยการเจริญภาวนารู้ลมหายใจเข้าออกทุกครั้งไป พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ด้วยตลอดทุกเวลาทุกอริยาบททุกสภาวะอารมภ์ของข้าพเจ้าทุกเมื่อเทอญสาธุ

คำนมัสการสรรเสริญตนเอง
ข้าพเจ้าขอด้วยการเป็นผู้เจริญภาวนารู้ลมหายใจเข้าออกทุกครั้งไป พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ด้วยตลอดทุกเวลาทุกอริยาบททุกสภาวะอารมณ์ของข้าพเจ้าทุกเมื่อ ด้วยอานุภาพเจริญภาวนามนต์นี้เป็นมนต์อันที่ศักสิทธิ์ไม่มีมนต์อื่นใดเทียบได้ข้าพเจ้าผู้บำเพ็ญเจริญภาวนามนต์นี้ข้าพเจ้าเป็นผู้ขอนมัสการสักการะบูชาด้วยการปฏิบัติบูชาอันสถานเดียวขอบูชา พระพุทธเจ้า พระธรรมเจ้า พระสงฆ์เจ้า พระมหาโพธิสัตว์ องค์เทพเทวาอารักษ์ พลังแห่งความดีทั้งหลายพร้อมน้อมเข้าสู่จิตกายวาจาของข้าพเจ้า 
ข้าพเจ้าเป็นผู้อยู่เหนือพลังบาปอกุศลกรรมทั้งปวง เหนือขันห้า เหนือกิเลสตัณหาราคะอุปาทานทั้งปวง เหนือโลก เหนือกฏแห่งกรรม เหนือโลกธรรมแปด เหนืออายตนะสิบสอง เหนือธรรมทั้งปวง เป็นผู้ขอโทษและให้อภัยต่อผู้อื่นและตนเองตลอดจนเจ้ากรรมนายเวรทั้งหลายทุกท่าน
ผู้ตั้งสัจจะอธิษฐานด้วยจิตกายวาจาว่าเป็นผู้ละเว้นขาดจากพลังบาปอกุศลกรรมทั้งหลายทั้งปวงต่อพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ พระมหาโพธิสัตว์ องค์เทพเทวาอารักษ์ แล้วนะบัดนี้
ข้าพเจ้าเป็นผู้มีศีลอันบริสุทธิ์บริบูรณ์ดีแล้วครบทุกประการ
ผู้เจริญเมตตากรุณามุทิตาอุเบกขา ต่อผู้อื่นและตนเองดีแล้ว
 ผู้ได้ชำระล้างพลังบาปอกุศลกรรมทั้งปวง เอาออกจากจิตกายวาจาอันบริบูรณ์และสะอาดดีแล้วด้วยการปฏิบัติบูชาของข้าพเจ้าครบทุกประการ
ผู้มีจิตกายวาจาอันบริสุทธิ์ผุดผ่องอ่อนน้อมถ่อมตนดีแล้วด้วยการปฏิบัติบูชาของข้าพเจ้าครบทุกประการ
ผู้มีจิตจำนงต่อโลกศุทธิไวฑูรย์ อันมีพระไภษัชยคุรุไวทูรยประภาตถาคตเจ้าอันทรงเป็นพระพุทธเจ้านั้นแล้ว
เป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน ผู้รู้สึกดีหนอ ผู้ปลื้มปิติภูมิใจตนเองหนอ ผู้รู้อันธรรมดาหนอ ผู้รู้สึกสุขกายสบายใจดีหนอ ผู้ปล่อยวางแล้วหนอ ผู้เจริญมรรคแปดดีแล้วหนอ ผู้มีพลังกายพลังใจมีจิตเข้มแข็งดีแล้วหนอ ผู้ไม่ย่อท้อถอยต่อ
อุปสรรคใดๆทั้งหลายทั้งปวงมีพลังใจสู่ต่อไปดีแล้วหนอ
ผู้เชื่อและปฏิบัติพระธรรมคำสอนพระพุทธเจ้าอันสถานเดียว
ข้าพเจ้าเป็นผู้บำเพ็ญเจริญภาวนามนต์อันศักสิทธิ์นี้ดัวยการเจริญภาวนารู้ลมหายใจเข้าออกทุกครั้งไปพุทธัง สะระณัง คัจฉามิด้วยตลอดทุกเวลาทุกกิริยาบททุกสภาวะอารมณ์ของข้าพเจ้าทุกเมื่อ เทอญสาธุ
อิทังเมธะนัง ทรัพย์ของข้าพเจ้านี้ ได้มาโดยบริสุทธิ์อันชอบธรรม และการนมัสการเจริญภานาของข้าพเจ้ากระทำโดยเจตนาบริอันบริสุทธิ์ใจ ข้าพเจ้าขอบูชาพระพุทธ บูชาพระธรรม บูชาพระสงฆ์ พระโพธิสัตว์ องค์เทพเทวาอารักษ์
ข้าพเจ้ามีจิตระลึกนึกถึงต่อพระนิพพานในโลกธาตุพุทธเกษตรศุทธิไวฑูรย์ขอให้ถึงเมืองแก้ว ขอให้คลาดแคล้วบ่วงมารและปราศจากพลังบาปอกุศลกรรมทั้งปวง
ขอให้พบพระนิพพาน ในโลกพุทธเกษตรศุทธิไวฑูรย์อันมีพระไภษัชยคุรุไวฑูรยประภาตถาคตเจ้า อันทรงเป็นพระพุทธเจ้าในอนาคตกาลของข้าพเจ้า ด้วยการเจริญภาวนารู้ลมหายใจเข้าออกทุกครั้งไป พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ด้วยตลอดทุกเวลาทุกกิริยาบททุกอารมณ์ของข้าพเจ้าทุกเมื่อเทอญ สาธุ

บทนมัสการชำระล้างขันห้า
ด้วยบทสวด ปฏิจจสมุปบาท
(นำ) หันทะ มะยัง ปะฏิจจะสะมุปปาทะธัมมะปาฐัง ภะณามะ เส ฯ

(รับ) อิธะ ภิกขะเว อะริยะสาวะโก
ปะฏิจจะสะมุปปาทัญเญวะ สาธุกัง โยนิโส มะนะสิกะโรติ
- ภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกในธรรมวินัยนี้ ย่อมกระทำไว้ในใจ
โดยแยบคายเป็นอย่างดี ซึ่งปฏิจจสมุปบาทนั่นเทียว ดังนี้ว่า

อิมัส๎มิง สะติ อิทัง โหติ
- เมื่อสิ่งนี้มี สิ่งนี้ย่อมมี

อิมัสสุปปาทา อิทัง อุปปัชชะติ
- เพราะความเกิดขึ้นแห่งสิ่งนี้ สิ่งนี้จึงเกิดขึ้น

อิมัส๎มิง อะสะติ อิทัง นะ โหติ
- เมื่อสิ่งนี้ไม่มี สิ่งนี้ย่อมไม่มี

อิมัสสะ นิโรธา อิทัง นิรุชฌะติ
- เพราะความดับไปแห่งสิ่งนี้ สิ่งนี้จึงดับไป

ยะทิทัง
- ได้แก่สิ่งเหล่านี้ คือ

อะวิชชาปัจจะยา สังขารา
- เพราะมีอวิชชาเป็นปัจจัย จึงมีสังขารทั้งหลาย

สังขาระปัจจะยา วิญญาณัง
- เพราะมีสังขารเป็นปัจจัย จึงมีวิญญาณ

วิญญาณะปัจจะยา นามะรูปัง
- เพราะมีวิญญาณเป็นปัจจัย จึงมีนามรูป

นามะรูปะปัจจะยา สะฬายะตะนัง
- เพราะมีนามรูปเป็นปัจจัย จึงมีสฬายตนะ

สะฬายะตะนะปัจจะยา ผัสโส
- เพราะมีสฬายตนะเป็นปัจจัย จึงมีผัสสะ

ผัสสะปัจจะยา เวทะนา
- เพราะมีผัสสะเป็นปัจจัย จึงมีเวทนา

เวทะนาปัจจะยา ตัณหา
- เพราะมีเวทนาเป็นปัจจัย จึงมีตัณหา

ตัณหาปัจจะยา อุปาทานัง
- เพราะมีตัณหาเป็นปัจจัย จึงมีอุปาทาน

อุปาทานะปัจจะยา ภะโว
- เพราะมีอุปาทานเป็นปัจจัย จึงมีภพ

ภะวะปัจจะยา ชาติ
- เพราะมีภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ

ชาติปัจจะยา ชะรามะระณัง
โสกะปะริเทวะทุกขะโทมะนัสสุปายาสา สัมภะวันติ
- เพราะมีชาติเป็นปัจจัย ชรา มรณะ โสกะปริเทวะทุกขโทมนัส
อุปายาสะทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นครบถ้วน

เอวะเมตัสสะ เกวะลัสสะ ทุกขักขันธัสสะสะมุทะโย โหติ
- ความเกิดขึ้นพร้อมแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้

อะวิชชายะเต๎ววะ อะเสสะวิราคะนิโรธา สังขาระนิโรโธ
- เพราะความจางคลายดับไปโดยไม่เหลือ
แห่งอวิชชานั้นนั่นเทียว จึงมีความดับแห่งสังขาร

สังขาระนิโรธา วิญญาณะนิโรโธ
- เพราะมีความดับแห่งสังขาร จึงมีความดับแห่งวิญญาณ

วิญญาณะนิโรธา นามะรูปะนิโรโธ
- เพราะมีความดับแห่งวิญญาณ จึงมีความดับแห่งนามรูป

นามะรูปะนิโรธา สะฬายะตะนะนิโรโธ
- เพราะมีความดับแห่งนามรูป จึงมีความดับแห่งสฬายตนะ

สะฬายะตะนะนิโรธา ผัสสะนิโรโธ
- เพราะมีความดับแห่งสฬายตนะ จึงมีความดับแห่งผัสสะ

ผัสสะนิโรธา เวทะนานิโรโธ
- เพราะมีความดับแห่งผัสสะ จึงมีความดับแห่งเวทนา

เวทะนานิโรธา ตัณหานิโรโธ
- เพราะมีความดับแห่งเวทนา จึงมีความดับแห่งตัณหา

ตัณหานิโรธา อุปาทานะนิโรโธ
- เพราะมีความดับแห่งตัณหา จึงมีความดับแห่งอุปาทาน

อุปาทานะนิโรธา ภะวะนิโรโธ
- เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ

ภะวะนิโรธา ชาตินิโรโธ
- เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ

ชาตินิโรธา ชะรามะระณัง
โสกะปะริเทวะทุกขะโทมะนัสสุปายาสา นิรุชฌันติ
- เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล ชรา มรณะ
โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสะทั้งหลาย จึงดับสิ้น

เอวะเม ตัสสะ เกวะลัสสะ ทุกขักขันธัสสะ นิโรโธ โหตีติ
- ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้ ดังนี้   

ข้าพเจ้าขอเจริญภาวนาพุทธมนต์บทนี้ด้วยตลอดเวลาด้วยการเจริญภาวนารู้ลมหายใจเข้าออกทุกครั้งไป  พุทธัง สะระณัง  คัจฉามิ ตลอดทุกเวลาทุกอริยาบททุกอารมณ์ของข้าพเจ้าทุกเมื่อเทอญสาธุ  

ข้าพเจ้าขอสวัสดีท่านทัังหลายขอให้ท่านทังหลายทุกท่านจึงมีความสุขกายสบายใจ ความเจ็บไข้ได้ป่วยความยากจนจงลดน้อยถอยลงเถิด อุปสรรคอันตรายทั้งปวงอัปมงคลทั้งปวงความทุกข์ทั้งปวงสิ่งชั่วร้ายทั้งปวงพลังบาปอกุศลกรรมทั้งปวง จงมลายดับสูญสิ้นสลายไปเถิด อายุวรรณะสุขะพละ ความอยู่ดีมีสุข
ความปลื้มปิติยินดี ความภาคภูมิใจตนเอง
ความบันเทิงเริงใจ ผู้รู้ผู้ตื่นผู้เบิกบาน บุญกุศลกรรมทั้งปวงทั้งหมดนี้จงมีแต่ท่านเถิด ขอให้ท่านจงรับอนุโมทนาสาธุเองเถิด
ข้าพเจ้าอวยพรชัยและอนุโมทนาให้ท่านแล้ว ด้วยการข้าพเจ้าเป็นผู้เจริญภาวนารู้ลมหายใจเข้าออกทุกครั้งไป  พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ด้วยตลอดทุกเวลาทุกอริยาบททุกสภาวะอารมณ์ของข้าพเจ้าทุกเมื่อเทอญสาธุ
พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ

นมัสการแผ่เมตตาให้ตนเอง
           อะหัง สุขิโต โหมิ (ขอให้ข้าพเจ้ามีความสุข)
           อะหัง นิททุกโข โหมิ (ขอให้ข้าพเจ้าปราศจากความทุกข์)
           อะหัง อะเวโร โหมิ (ขอให้ข้าพเจ้าปราศจากเวร)
           อะหัง อัพยาปัชโฌ โหมิ (ขอให้ข้าพเจ้าปราศจากอุปสรรคอันตรายทั้งปวง
           สุขี อัตตานัง ปะริหะรามิ (ขอให้ข้าพเจ้าจงมีความสุขกายสุขใจ รักษากายวาจาใจให้พ้นจากความทุกข์ภัยทั้งปวงเถิด)
นมัสการแผ่เมตตาไปสู่ผู้อื่น
             สัพเพ สัตตา สุขิตา โหนตุ นิททุกขา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ 
             ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง จงถึงความสุข ปราศจากความทุกข์ ไม่มีเวร ไม่มีภัย ไม่มีความคับแค้นใจ จงมีความสุขกายสุขใจ รักษาตนให้พ้นจากทุกข์ภัยทั้งปวงเถิดฯ
บทแผ่เมตตาทั่วไป
             สัพเพ สัตตา สัตว์ทั้งหลายที่เป็นเพื่อนทุกข์ เกิดแก่เจ็บตายด้วยกันทั้งหมดทั้งสิ้น
             อะเวราโหนตุ จงเป็นสุขเป็นสุขเถิด อย่าได้มีเวรแก่กันและกันเลย
             อัพยาปัชฌาโหนตุ จงเป็นสุขเป็นสุขเถิด อย่าได้เบียดเบียนซึ่งกันและกันเลย
             อะนีฆาโหนตุ จงเป็นสุขเป็นสุขเถิด อย่าได้มีความทุกข์กายทุกข์ใจเลย
             สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ จงมีแต่ความสุขกายสุขใจ รักษาตนให้พ้นจากทุกข์ภัยทั้งสิ้นเถิด
   สัพเพ สัตตา สัตว์ทั้งหลายที่เป็นเพื่อนทุกข์ เกิด แก่ เจ็บ ตาย ด้วยกันทั้งสิ้น
อะเวรา โหนตุ จงเป็นผู้ไม่มีเวรแก่กันและกันเถิด
อัพยาปัชฌา โหนตุ จงเป็นผู้ไม่เบียดเบียนซึ่งกันและกัน
อะนีฆา โหนตุ จงเป็นผู้ไม่มีทุกข์กาย ทุกข์ใจเถิด
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ จงเป็นผู้มีสุข พ้นจากทุกข์ภัยทั้งสิ้นเถิด    
อิทัง เม มาตาปิตูนัง โหตุ สุขิตา โหนตุ มาตาปิตะโร 
            ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จแก่มารดา บิดาของข้าพเจ้า ขอให้มารดา บิดาของข้าพเจ้ามีความสุข
            อิทัง เม ญาตีนัง โหตุ สุขิตา โหนตุ ญาตะโย 
            ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จแก่ญาติทั้งหลายของข้าพเจ้า ขอให้ญาติทั้งหลายของข้าพเจ้ามีความสุข
            อิทัง เม คุรูปัชฌายาจริยานัง โหตุ สุขิตา โหนตุ คุรูปัชฌายาจริยา 
            ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จแก่ครูอุปัชฌาย์อาจารย์ของข้าพเจ้า ขอให้ครูอุปัชฌาย์อาจารย์ของข้าพเจ้ามีความสุข
            อิทัง สัพพะเทวะตานัง โหตุ สุขิตา โหนตุ สัพเพเทวา 
            ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จแก่เทวดาทั้งหลายทั้งปวง ขอให้เทวดาทั้งหลายทั้งปวงมีความสุข
            อิทัง สัพพะเปตานัง โหตุ สุขิตา โหนตุ สัพเพ เปตา 
            ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จแก่เปรตทั้งหลายทั้งปวง ขอให้เปรตทั้งหลายทั้งปวงมีความสุข
            อิทัง สัพพะเวรีนัง โหตุ สุขิตา โหนตุ สัพเพเวรี 
   ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จแก่เจ้ากรรมนายเวรทั้งหลายทั้งปวง ขอให้เจ้ากรรมนายเวรทั้งหลายทั้งปวงมีความสุข
            อิทัง สัพพะสัตตานัง โหตุ สุขิตา โหนตุ สัพเพ สัตตา 
            ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จแก่สัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ขอให้สัตว์ทั้งหลายทั้งปวงมีความสุขทั่วหน้ากันเทอญ

บทกรุณา

สัพเพ สัตตา สัตว์ทั้งหลายที่เป็นเพื่อนทุกข์ เกิด แก่ เจ็บ ตาย ด้วยกันทั้งสิ้น
สัพพะทุกขา ปะมุจจันตุ จงพ้นจากทุกข์เถิด

บทมุทิตา
สัพเพ สัตตา สัตว์ทั้งหลายที่เป็นเพื่อนทุกข์ เกิด แก่ เจ็บ ตาย ด้วยกันทั้งสิ้น
มา ลัทธะสัมปัตติโต วิมุจจันตุ จงอย่าไปปราศจากสมบัติอันตนได้แล้วเถิด

บทอุเบกขา
สัพเพ สัตตา สัตว์ทั้งหลายที่เป็นเพื่อนทุกข์ เกิด แก่ เจ็บ ตาย ทั้งสิ้น
กัมมัสสะกา เป็นผู้มีกรรมเป็นของของตน
กัมมะทายาทา เป็นผู้รับผลของกรรม
กัมมะโยนิ เป็นผู้มีกรรมเป็นกำเนิด
กัมมะพันธุ เป็นผู้มีกรรมเป็นเผ่าพันธุ์
กัมมะปะฏิสะระณา เป็นผู้มีกรรมเป็นที่พึ่งอาศัย
ยัง กัมมัง กะริสสันติ กระทำกรรมอันใดไว้
กัลยาณัง วา ปาปะกัง วา ดีหรือชั่ว
ตัสสะ ทายาทา ภะวิสสันติ จักเป็นผู้รับผลของกรรมนั้น
ข้าพเจ้าเจริญภาวนาขอแผ่แมตตาต่างๆให้กับข้าพเจ้าและ เจ้ากรรมนายเวรทั้งหลายตลอดจนถึงบิดามารดาครูบาอาจารย์ผู้มีพระคุณและสรรพสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง องค์เทพเทวาทั้งหลาย ภูติทั้งหลายทั้งปวงท่านทั้งหลายได้ยินได้ฟังได้รับรู้เห็นแล้วในขณะนี้จากข้าพเจ้าขอให้ท่านทั้งหลายจงอนุโมทนาบุญเองเถิดข้าพเจ้าได้อุทิศส่วนบุญกุศลไปให้แล้วดัวยตลอดเวลา ด้วยการเจริญภาวนารู้ลมหายใจเข้าออกทุกครั้งไป พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ตลอดทุกเวลาทุุกสภาวะอารมณ์ของข้าพเจ้าทุกเมื่อเทอญสาธุ

คำนมัสการพระรัตนตรัย
อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ ฯ (กราบ)
สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม ธัมมัง นะมัสสามิ ฯ (กราบ)
สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สังฆัง นะมามิ ฯ (กราบ)

จบพิธีนมัสการในเวลาระหว่างวัน ตั้งแต่เวลาตีสี่ขื้นไปจนถึงเวลาพักผ่อนนอนหลับควรทำนมัสการอย่างน้อยวันละ1ครั้งขื้น

วันจันทร์ที่ 26 เมษายน พ.ศ. 2564

กฏแห่งกรรม



กฎแห่งกรรม กฎแห่งการกระทำ ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว
กฎแห่งกรรม
          กฎแห่งกรรม คือ กฎที่แสดงให้เห็นถึงเหตุและผลของการกระทำใดๆ ของมนุษย์ กล่าวคือ ใครกระทำกรรมอันใดไว้ ดีหรือชั่วก็ตาม บุคคลผู้กระทำนั้นจักต้องเป็นผู้รับผลของกรรมนั้นๆ เสมอ มิได้เกิดจากการดลบันดาลจากอำนาจของพระเจ้าองค์ใด และไม่มีใครมารับผลของกรรมแทนบุคคลอื่นได้

          พระพุทธองค์ทรงตรัสไว้ในพระสูตรหนึ่ง ชื่อว่า ปุพพังคสูตร ปรากฏอยู่ในพระสุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย ทสกนิบาต ว่า...
          "ดูก่อน ภิกษุทั้งหลาย ก่อนที่ดวงอาทิตย์จะส่องสว่างเหนือโลกหล้า ย่อมมีแสงเงินแสงทองจับขึ้นที่ขอบฟ้า เป็นนิมิตเบื้องต้นให้เห็นก่อน ฉันใด ก่อนที่กุศลธรรมทั้งหลายจะบังเกิดขึ้น ย่อมมีสัมมาทิฐิเป็นนิมิตเบื้องต้นให้เห็นก่อน ฉันนั้น"
          กฎแห่งกรรม กฎแห่งการกระทำ เป็นกฎแห่งเหตุและผล เป็นกฎของธรรมชาติ คือ ธรรมฝ่ายใดเกิดขึ้นในใจก็ทำกรรมฝ่ายนั้น เกิดกุศลธรรมก็ประกอบกุศลกรรม เกิดอกุศลธรรมก็ประกอบอกุศลกรรม อย่างนี้เรียกว่า ธรรมชาติ กฎแห่งกรรมเป็นเรื่องราวความเป็นจริงของชีวิต คือ ประกอบเหตุอย่างนี้ต้องไปมีผลอย่างนั้น ประสบผลอย่างนี้เพราะประกอบเหตุมาอย่างนั้น กรรม คือ การกระทำทางกาย ทางวาจา และทางใจ จะดีหรือชั่ว เจตนาหรือไม่ จะน้อยหรือมาก ทุกเพศทุกวัย ล้วนมีผลทั้งสิ้นที่ไม่มีผลไม่มีเลย ผลบางอย่างปรากฏในปัจจุบันทันตาเห็น บางอย่างเห็นผลตอนตายไปแล้ว กฎแห่งกรรมนี้ไร้ความปรานี ไม่มีข้อยกเว้นให้กับใครๆ ไม่จำกัดเชื้อชาติ ภาษา ศาสนาใดก็ตามในโลก จะอยู่บนดิน บนน้ำ บนอากาศ ดวงจันทร์ ดวงดาว ก็หนีกฎแห่งกรรมไม่พ้น แม้แต่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าของเราในสมัยที่ยังเป็นพระบรมโพธิสัตว์นักสร้างบารมีก็ยังต้องเสวยวิบากกรรม เพราะกรรมติดตามตัวเราไปทุกที่ทุกสถานเหมือนเงาติดตามตัว เมื่อเรายังหนีตัวเราไม่พ้น เราก็หนีกฎแห่งกรรมไม่พ้นเหมือนกัน กฎหมายหรือกฎเกณฑ์อะไรบางอย่างในโลกที่มนุษย์สมมติกันขึ้นมา ยังหลีกเลี่ยงเปลี่ยนแปลงได้ ปีนี้ใช้อย่างนี้ปีหน้าเปลี่ยนไปอีกอย่าง แต่กฎแห่งกรรมไม่เคยเปลี่ยนแปลง เพราะฉะนั้น
" ทำดีย่อมได้ดี ทำชั่วย่อมได้ชั่ว ทำดีได้ชั่วไม่มี ทำชั่ว ได้ดีก็ไม่มี


กฎแห่งกรรม ผู้ทำกรรมดีย่อมได้ผลดี
กฎแห่งกรรม
          กฎแห่งกรรมเป็นเรื่องที่ทุกคนต้องศึกษาเรียนรู้ ไม่รู้อันตราย ถ้ารู้แล้วเอาตัวรอดปลอดภัยได้ แม้ยังไม่หมดกิเลส แต่ก็จะมีชีวิตอยู่ในสังสารวัฏได้อย่างปลอดภัยไม่พลัดไปสู่อบายภูมิที่มีความทุกข์ทรมานมาก จะท่องเที่ยวสร้างบารมีอยู่เพียงสองภพภูมิ คือ มนุษยโลกกับเทวโลก ซึ่งการศึกษาเรื่องกฎแห่งกรรมอย่างถ่องแท้จะทำให้เราดำเนินชีวิตด้วยการสั่งสมบุญบารมีมากกว่า ส่วนที่จะผิดพลาดน้อย ผิดจะไม่ค่อยมี แต่จะมีอยู่เพียงแค่พลาดพลั้ง เผอเรอ ประมาทเลินเล่อ แม้เวลาตายก็จะตายเป็น พร้อมที่จะตายอย่างถูกหลักวิชชาหลักคำสอนในพระพุทธศาสนา ดังพุทธพจน์ที่ว่า
          " จิตฺเต สงฺกิลิฏฺเฐ ทุคฺคติ ปาฏิกงฺขา จิตฺเต อสงฺกิลิฏฺเฐ สุคติ ปาฏิกงฺขา
           เมื่อจิตเศร้าหมอง ทุคติเป็นอันหวังได้ เมื่อจิตไม่เศร้าหมอง สุคติเป็นอันหวังได้ " *กฎแห่งกรรม ผู้ทำกรรมชั่ว หากช่วงเวลาก่อนตาย
จิตใจเศร้าหมอง ทุคติเป็นที่ไป
          กล่าวโดยสรุป คือ ตัดสินกันช่วงเวลาก่อนตายว่าจิตขณะนั้นผ่องใสหรือหมอง ถ้าจิตผ่องใสเพราะสิ้นระแวงก็ไปสบายไปสู่สุคติโลกสวรรค์ ใจใสขึ้นอยู่กับบุญกุศลที่สั่งสมไว้ แต่ถ้าจิตหมองมัวก็ต้องไปอบาย ใจหมองขึ้นอยู่กับบาปอกุศลที่เคยกระทำไว้ ซึ่งจะต้องศึกษาต่อไปว่า อะไรเป็นบุญกุศล อะไรเป็นบาปอกุศล หากไม่ศึกษาก็จะไม่ทราบว่าควรยึดถือใครเป็นเกณฑ์เป็นต้นแบบในการประกอบบุญกุศล เกณฑ์ของบุญกุศลจะต้องเอาท่านผู้ที่หลุดพ้นจากกิเลสอาสวะ รู้แจ้งเห็นแจ้งแทงตลอดในธรรมทั้งปวง เอาความรู้ความเห็นคำสั่งสอนคำแนะนำของท่านเป็นหลัก เพราะท่านที่หมดกิเลสแล้วทำอะไรไม่หวังผลตอบแทน ไม่มีเรื่องผลประโยชน์ มีแต่คุณประโยชน์ และคุณงามความดีล้วนๆ พอจับหลักได้ก็ทำตามนั้น คือ ทำแต่กุศลกรรม บุญก็เกิด เมื่อบุญเกิดก็ละอกุศลกรรมได้ บุญจะทำหน้าที่กลั่นจิตใจให้ผ่องใส ดังนั้นเราต้องการผลอย่างไรก็ทำเหตุอย่างนั้น เพราะชีวิตหลังความตายไม่มีการทำมาหาเลี้ยงชีพ ชีวิตในปรโลกของสัตวโลกเป็นอยู่ด้วยบุญและบาป ดีและชั่วเท่านั้น ไม่ใช่ตัดสินที่ความรวย หล่อ สวย เก่ง เฮง ไม่ใช่อย่างนั้น
          พระพุทธศาสนาใช้คำเรียก กฎแห่งกรรม ว่า " กรรมนิยาม" คือ ความแน่นอนของกรรม หมายความว่า กรรมที่เกิดจากการตัดสินใจทำลงไปแล้วย่อมให้ผล การเกิดผลของกรรมทั้งดีและชั่ว เรียกว่าวิบาก ซึ่งมีกฎเกณฑ์แน่นอนตายตัว ท่านจึงเรียกกฎเกณฑ์แห่งวิบากกรรมว่า " กฎแห่งกรรม" ดังที่พระพุทธองค์ตรัสว่า
สัตว์ทั้งหลายมีกรรมเป็นของตน เป็นทายาทแห่งกรรม มีกรรมเป็นกำเนิด
มีกรรมเป็นเผ่าพันธุ์ มีกรรมเป็นที่พึ่งอาศัย กรรมย่อมจำแนกสัตว์ให้เลวและประณีตได้" **
สัมมาทิฐิที่เป็นเบื้องต้นของกุศลธรรมนั้น มี 10 ประการ ได้แก่
          1.ทานที่ให้แล้วมีผล
          2.การสงเคราะห์กันมีผล
          3.การยกย่องบูชาบุคคลที่ควรบูชามีผล
          4.ผลแห่งกรรมดีและกรรมชั่วมีจริง
          5.โลกนี้มี (ที่มา)
          6.โลกหน้ามี (ที่ไป)
          7.คุณของมารดามี
          8.คุณของบิดามี
          9.สัตว์ที่เกิดแบบโอปปาติกะมี
          10.พระอรหันต์ผู้หมดกิเลสแล้วมี



พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงตรัสสอนเรื่องสัมมาทิฐิ 10 ประการ
          สัมมาทิฐิทั้ง 10 ประการนี้ โดยเนื้อแท้คือเรื่องของกฎแห่งกรรม ซึ่งการที่พระพุทธองค์ตรัสสอนเรื่องสัมมาทิฐิ 10 ประการนี้ก่อนอย่างอื่น ก็เพราะว่าสัมมาทิฐิทั้ง 10 ประการนี้ เป็นเบื้องต้นของความดีทุกประการของคนเรา การประพฤติกรรมดีหรือชั่ว หรือกล่าวอีกอย่างหนึ่งว่า การกระทำความดีและความชั่วของคนเรานั้น ทำได้ 3 ทาง คือ
          1. ทางกาย (กายกรรม)
          2. ทางวาจา (วจีกรรม)
          3. ทางใจ (มโนกรรม)

ไม่ว่าเราทำอะไรไว้ทั้งกรรมดีและชั่วก็ตาม เราจะต้องเป็นผู้รับผลของกรรมนั้นเสมอ จะให้ใครมารับผลกรรมแทนเราไม่ได
เมื่อทำความเข้าใจพื้นฐานตรงนี้แล้ว ความตระหนักในความรับผิดชอบต่อการกระทำของตนเองก็จะเกิดขึ้นตามมา มีผลที่ทำให้ใจของเขาสว่างพอที่จะมองออกต่อไปว่า พระธรรมคำสอนต่างๆที่มีอยู่ในพระพุทธศาสนานี้ แท้จริงทุกคำสอนล้วนเป็นการสอนให้เกิดความเข้าใจถูก ในเรื่องกฎแห่งกรรมดีและกฎกรรมชั่ว ถ้าเราแยกไม่ออกว่าเส้นทางไหน คือ เส้นทางแห่งความดีและความชั่ว เราก็จะมีโอกาสพลาดไปทำความชั่ว แล้วผลทุกข์แห่งความชั่วก็ย่อมตกมาถึงตัวเรา
          เมื่อความเข้าใจของใครก็ตาม ที่มีใจสว่างมาถึงระดับนี้ ความซาบซึ้งในเรื่อง กฎแห่งกรรมของเขาก็จะยิ่งทับทวีแก่กล้าขึ้นไป และจะส่งผลให้ตัดสินใจเลือกทำแต่กรรมดีได้อย่างถูกต้อง เช่น เริ่มตั้งแต่เลือกคิดในเรื่องดีๆ เลือกพูดในเรื่องดีๆ เลือกทำในสิ่งที่ดีๆ เลือกประกอบอาชีพที่ไม่ก่อบาปก่อเวร พากเพียรทำความดีเพิ่มยิ่งขึ้นไป มีสติระมัดระวังตนไม่ให้พลาดพลั้งกลับไปทำความชั่ว และมีสมาธิ(Meditation)ที่แน่วแน่มั่นคงในการทำความดี ไม่หวั่นไหวกับอุปสรรคใดๆ ที่มาขวางกั้นทั้งสิ้น ในที่สุด ความดีที่เขาทำผ่านกาย วาจา ใจ รอบแล้วรอบเล่านี้ ก็ได้กลายเป็นนิสัยดีๆประจำตัวเขาขึ้นมา แล้วก็ทำให้เขาสามารถทำความดีต่างๆให้สูงยิ่งขึ้นไป
          ในทางตรงกันข้าม ถ้าสัมมาทิฐิทั้ง ๑๐ประการนี้ไม่เกิดขึ้น แล้วอะไรจะเกิดขึ้นแทน คำตอบก็คือ ความเห็นผิดเป็นชอบจะเกิดขึ้นแทน เมื่อเห็นผิดเป็นชอบจึงทำความชั่ว เมื่อทำความชั่วบ่อยเข้า นิสัยเลวๆก็เกิด การสั่งสมอาสวะก็เกิด ผลทุกข์ที่เดือดร้อนแสนสาหัสที่ยาวนานก็เกิด และกลายเป็นความทุกข์ที่ไม่สิ้นสุด จนกว่าจะคิดได้ในวันใดวันหนึ่ง วันนั้นจึงจะเริ่มทำความเข้าใจกฎแห่งกรรม แต่ถ้าในยุคนนั้น ไม่มีพระพุทธศาสนามาบังเกิดขึ้น ก็จะต้องทุกข์ต่อไป วันใดเข้าใจในสัมมาทิฐิเบื้องต้น 10 ประการ วันนั้น คือ วันที่จะได้มีโอกาสพ้นทุกข์
          ดังนั้น สัมมาทิฐิเบื้องต้นทั้ง 10 ประการนี้ จึงเป็นเหมือนกับฐานรากของความดีทุกประการในโลกนี้ อุปมาเหมือนการสร้างตึกสูง 100 ชั้น ถ้าฐานรากของตึกไม่แข็งแรงมั่นคง ตึกก็ย่อมต้องพังถล่มลงมาเป็นซากอิฐซากปูน ฉันใด ความดีของคนเราก็เช่นกัน จะพัฒนาสูงขึ้นไปได้เรื่อยๆ ไม่ดีแตกเสียกลางทาง ก็ต่อเมื่อเขามีสัมมาทิฐิเบื้องต้น 10 ประการเป็นฐานรากที่แข็งแรงมั่นคง ฉันนั้น

          ด้วยเหตุที่การศึกษาเรื่องสัมมาทิฐิเบื้องต้น 10 ประการ เป็นเรื่องใหญ่ของมวลมนุษยชาติเช่นนี้ พระพุทธองค์จึงได้ตรัสว่าสัมมาทิฐิเบื้องต้น 10 ประการนี้ เป็นเบื้องต้นของกุศลกรรมทั้งหลายของมนุษย์ เพราะฉะนั้น เพื่อให้เราดำเนินชีวิตในโลกนี้ได้อย่างปลอดภัย เราจึงต้องศึกษาสัมมาทิฐิทั้ง 10 ประการนี้ให้เกิดความเข้าใจอย่างถ่องแท้
          เรื่องกฎแห่งกรรม พระองค์ได้ทรงสั่งสอนพุทธบริษัทเป็นหลักสำคัญในพระพุทธศาสนา เพราะหากใครกระทำผิดกฎแห่งกรรมแล้ว จะมีผลต่อการดำเนินชีวิต จะต้องได้รับความทุกข์สิ้นกาลนานทั้งในปัจจุบันและอนาคต หลักกรรมที่พระองค์นำมาสั่งสอนมีปรากฏอยู่หลายแห่งในพระไตรปิฎก แต่ที่จะนำมากล่าวนี้อยู่ใน เวขสาขชาดก*** ความว่า

          " ยานิ กโรติ ปุริโส ตานิ อตฺตนิ ปสฺสติ
          กลฺยาณการี กลฺยาณํ ปาปการี จ ปาปกํ
          ยาทิสํ วปเต พีชํ ตาทิสํ รุหเต ผลํ
          บุคคลทำกรรมใด ย่อมมองเห็นกรรมนั้นในตน
          ผู้ทำกรรมดีย่อมได้ผลดี ผู้ทำกรรมชั่วย่อมได้ผลชั่ว
          บุคคลหวานพืชเช่นใด ผลย่อมงอกขึ้นเช่นนั้น"
กฎแห่งกรรม กรรมที่เกิดจากการตัดสินใจทำลงไปแล้วย่อมให้ผล
ประโยชน์ของการศึกษาเรื่องกฎแห่งกรรม
          การที่เรารู้จักคุณประโยชน์ คุณค่า คุณงามความดีของสิ่งหนึ่งสิ่งใด จะทำให้เราเป็นผู้มีความประพฤติปฏิบัติไปในทางที่ถูกต้อง รู้ทั้งคุณและโทษแล้วเลือกทำแต่คุณความดีอย่างเดียว ในกรณีที่เราศึกษาเรื่องกฎแห่งกรรมย่อมก่อให้เกิดประโยชน์มหาศาล สามารถยกระดับจิตของเราจากปุถุชนสู่ความเป็นพระอริยบุคคลประเภทต่างๆ ซึ่งจะขอยกประโยชน์สำคัญๆ ที่ทำให้ชีวิตอยู่ดีมีสุขในปัจจุบันชาตินี้ ชาติหน้า และชาติต่อๆ ไป ดังนี้
          1. ทุกคนต้องกระตือรือร้นทำแต่กรรมดีตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไป เพราะการที่เกิดมามีโชคดีในชาตินี้ เนื่องจากกรรมดีในอดีตส่งผล แต่การให้ผลของกรรมดีนั้นมีวันหมดสิ้นไป จึงต้องสร้างกรรมดีเพิ่ม เพื่อมิให้ผลแห่งกรรมดี คือบุญที่สั่งสมอยู่ในใจมาตั้งแต่อดีตต้องขาดช่วง หรือหมดลง ส่วนผู้เกิดมาโชคร้าย ก็อย่าได้ท้อแท้สิ้นหวัง เพราะเมื่อรู้ว่าอะไรคือกรรมดี กรรมชั่วแล้ว ก็ควรขวนขวายทำแต่กรรมดีกระทำอย่างต่อเนื่อง เพราะการทำวันนี้ให้ดีที่สุดก็คือการทำอนาคตให้ดี

          2. ไม่สร้างกรรมชั่วเพิ่มอีก เพราะตระหนักถึงผลร้ายที่จะติดตามมาส่งผลให้แก่ตนเอง เพื่อนร่วมโลก และสิ่งแวดล้อมธรรมชาติ

          3. ไม่อยู่นิ่งเฉยโดยไม่สร้างกรรมดีอะไรเลย คือ ไม่พึงคิดว่าเราเองก็ไม่ได้ทำความชั่วอะไรเลยฉะนั้นถ้าจะไม่ทำความดีก็ไม่เห็นจะเดือดร้อนอะไร แต่ต้องทำความเข้าใจว่า ลมหายใจเข้าออกของเราทุกวินาทีต้องอาศัยบุญกรรมที่เคยสั่งสมมาในอดีต ถ้าไม่ทำความดีเพิ่ม ความดีเก่าก่อนที่เพียรสั่งสมมาก็จะหมดสิ้นไป และที่สำคัญสังขารร่างกายของเรานับวันจะเสื่อมถอยลงไปทุกวันๆ ฉะนั้นโอกาสที่จะทำกรรมดีก็เหลือน้อยเต็มที

          4. ใช้สรีระร่างกายให้เหมาะสมและคุ้มค่ามากที่สุดเท่าที่จะทำได้ เพราะไม่ว่าจะเป็นร่างกายที่สมบูรณ์แข็งแรง หรือร่างกายพิการ เมื่อศึกษาเรื่องกรรมดี กรรมชั่วอย่างถ่องแท้ แล้วเลือกทำแต่กรรมดี ถึงแม้ร่างกายจะพิการแต่ก็ยังสามารถทำความดีได้อีกมาก ต่างกับคนที่มีร่างกายสมบูรณ์แข็งแรงแต่เอาไปใช้ทำความชั่ว หรือต่างกับร่างกายของสัตว์ดิรัจฉานแม้จะสมบูรณ์แต่ก็ยากที่จะใช้สร้างกรรมดี ทั้งนี้ ทั้งนั้นแล้ว จะต้องควบคุมกาย วาจา และใจของเราให้สูงส่งไม่ตกต่ำไปตามอำนาจกิเลส

          5. มีศรัทธามั่นคงในเรื่องกฎแห่งกรรม ธรรมชาติของคนมีศรัทธาคลอนแคลนจึงสามารถทำได้ทั้งกรรมดีและกรรมชั่ว จึงจำเป็นต้องศึกษาเรื่องกฎแห่งกรรมให้ถ่องแท้เข้าไปอยู่ในความคิดจิตใจเป็นนิสัยที่ดีติดตัวไป สามารถตอบตนเองได้ว่าสิ่งที่ทำลงไปแล้วจะมีผลกลับมาอย่างไร เมื่อทำกรรมดีจะส่งผลให้มีธรรมคู่โลกฝ่ายดี คือ ความสุขทั้งสุขภาพร่างกายสุขภาพใจ มีความสำเร็จสมปรารถนาทางเศรษฐกิจดี มีฐานะมั่งคั่งร่ำรวยด้วยอาชีพสุจริต มีเกียรติยศชื่อเสียงขจรขจายเป็นที่เคารพยกย่อง ทั้งหมดนี้จะเกิดขึ้นกับเราทำให้มีความเป็นอยู่ที่เพรียบพร้อมสนับสนุนการทำความดีให้ยิ่งๆ ขึ้นไป

          6. เราสามารถออกแบบลิขิตชีวิตของเราเองได้ทั้งในโลกนี้และโลกหน้า สามารถเลือกได้ว่าเราอยากมีความเป็นอยู่ที่สุขสบายมั่งคั่ง หรือความเป็นอยู่ที่ยากแค้นแสนสาหัส เรามักได้ยินคำกล่าวที่ว่า ชีวิตเลือกเกิดไม่ได้ แต่ในความเป็นจริงแล้วเราสามารถเลือกที่จะทำได้ ถ้าศึกษาเรื่องกฎแห่งกรรมอย่างเข้าใจถ่องแท้ และสามารถจับแง่คิดมุมประเด็นสำคัญของกฎแห่งกรรมได้ นั่นจะทำให้เราสามารถเลือกเกิดได้ด้วยกรรมของตน

          7. สามารถตั้งเป้าหมายชีวิตให้ถูกต้อง เมื่อได้ศึกษาเรื่องกฎแห่งกรรมก็จะพบรากแท้แห่งปัญหาว่าเกิดจากการกระทำของมนุษย์ ซึ่งส่งผลกระทบไปถึงชีวิตความเป็นอยู่ ธุรกิจการงาน สังคม และสิ่งแวดล้อมเมื่อทราบแล้วก็จะพบเห็นทางออกพร้อมวิธีการแก้ไขปัญหา การแก้ไขปัญหาที่ตรงจุดคือต้องแก้ไขที่ความคิด ต้องตอกย้ำความคิดที่ถูกต้องให้เข้าไปอยู่ในใจให้ได้ว่า เราเกิดมาเพื่อสร้างความดี สร้างบุญสร้างบารมี ซึ่งสามารถตั้งเป้าหมายชีวิตการทำความดีของเราได้ 3 ระดับ คือ
          - เป้าหมายชีวิตระดับต้น อยู่เย็นเป็นสุข สุขกายสบายใจในภพชาติปัจจุบัน
          - เป้าหมายชีวิตระดับกลาง อยู่เย็นเป็นสุขในภพชาติหน้า คือสุคติโลกสวรรค์
          - เป้าหมายชีวิตระดับสูง ยกระดับกาย วาจา และใจของตนเองให้สูงส่งหลุดพ้นจากอำนาจกิเลสอาสวะทั้งปวง ไม่ต้องหวนกลับมาเวียนเกิดเวียนตายอีกต่อไป
จิตเดิมแท้ของมนุษย์ทุกคนนั้นประภัสสรคือสว่างใสงดงาม
          8. สามารถตักเตือนสั่งสอนตนเองและแนะนำผู้อื่นให้ประพฤติดีปฏิบัติชอบ จิตเดิมแท้ของมนุษย์ทุกคนนั้นประภัสสรคือสว่างใสงดงาม ดังนั้นเมื่อได้รับรู้รับฟังสิ่งที่ดีจิตก็ผ่องใส เมื่อมีกำลังใจในการทำความดี ก็อยากจะทำตนเองให้ดีและอยากชักชวนแนะนำบอกกล่าวให้คนอื่นทำตาม นั่นคือการทำหน้าที่เป็นกัลยาณมิตรแนะนำประโยชน์ เป็นมิตรแท้
          9. ไม่ประมาทในการดำเนินชีวิต เห็นโทษภัยแม้เพียงเล็กน้อย ซึ่งเป็นบทสรุปของพระพุทธศาสนาที่ว่าจะทำทาน รักษาศีล หมั่นเจริญสมาธิภาวนา ก็เพื่อให้เกิดปัญญา เพราะปัญญาเปรียบประดุจแสง-สว่างส่องชี้นำทางสัตวโลกให้ดำเนินชีวิตไปในทิศทางที่ถูกต้อง

          10. สร้างภูมิคุ้มกันป้องกันความบกพร่องทางความคิดแบบผิดๆ มนุษย์มักคิดจินตนาการ เรื่องราวไปต่างๆ นานา จริงบ้างไม่จริงบ้างสมมติเอาเองเสียบ้างก็มี ทำให้มีความเสี่ยงต่อการเข้าใจผิดต่อเรื่องราวความเป็นจริงของโลกและชีวิตที่เป็นกฎธรรมชาติ เช่น ร่างกายของเราต้องแตกสลายไปเป็นธรรมดา ไม่ยั่งยืนยาวนาน แต่บางท่านกลับคิดหายาอายุวัฒนะทำให้มีอายุยืนๆ ทำนองนี้เป็นต้น บ้างก็คิดว่า โลกนี้เที่ยงยั่งยืนไม่มีวันเสื่อมสลายหรือถูกทำลาย และจะเป็นอยู่เช่นนี้ตลอดไป โลกนี้โลกหน้าไม่มี เกิดกันชาติเดียว ทุกสิ่งที่ทำไปก็ไม่มีผลอะไร เพราะชีวิตหลังความตายไม่มี ไม่ต้องเกิดต่อไปแล้ว เหล่านี้เป็นเรื่องอันตรายทำให้เกิดความยึดติดอยู่ในภพไม่คิดออกนอกกรอบคือหลุดพ้นจากวัฏสงสาร

คนไม่มีศาสนาไม่เชื่อเรื่องกฎแห่งกรรม ควรดำเนินชีวิตอย่างไร
          ปัจจุบันวิทยาศาสตร์เจริญก้าวหน้าอย่างมาก ทำให้เกิดเทคโนโลยีที่ทันสมัยอย่างไม่หยุดยั้ง เป็นผลให้เกิดความเปลี่ยนแปลงในสังคมอย่างต่อเนื่อง จากเดิมเป็นสังคมเกษตรกรรม เปลี่ยนมาเป็นยุคอุตสาหกรรม และปัจจุบันกำลังอยู่ในยุคข้อมูลข่าวสาร หรือที่เรียกว่า โลกไร้พรหมแดน ที่ผู้คนสามารถติดต่อสื่อสารถึงกันได้อย่างรวดเร็ว และกว้างขวาง

          เนื่องจากความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ และการเปลี่ยนแปลงของสังคมที่เกิดขึ้น จึงทำให้มีผลต่อความคิด ความเชื่อของบุคคลในสังคมไปด้วย ในยุคแรกๆ คนส่วนใหญ่เชื่อในสิ่งที่มองไม่เห็น ที่ยังพิสูจน์ไม่ได้ อย่างเช่นเทพเจ้า จึงก่อให้เกิดเป็นศาสนาหรือลัทธิเทวนิยมจำนวนมาก และได้สืบทอดความเชื่อเหล่านั้นเรื่อยมาจนกระทั่งถึงยุคปัจจุบัน แต่เมื่อการพิสูจน์การวิจัยทางวิทยาศาสตร์ก้าวหน้ามากขึ้น ทำให้คนบางส่วนเริ่มมีความเชื่อในเรื่องเหตุผลที่สามารถพิสูจน์ได้มากขึ้น อย่างเช่นในยุคที่ความเชื่อเรื่องเทวนิยมรุ่งเรืองมากๆ มีการเผยแผ่ความเชื่ออย่างกว้างขวางไปทุกมุมโลก ซึ่งในยุคนั้นเริ่มมีนักวิทยาศาสตร์เกิดขึ้น และนักวิทยาศาสตร์คนหนึ่งชื่อกาลิเลโอ ได้ค้นพบทฤษฎีต่างๆ มากมาย ที่ส่งผลกระทบในด้านลบต่อความเชื่อทางศาสนา ในขณะเดียวกับที่นักวิทยาศาสตร์นั้นได้รับการยอมรับนับถือจากผู้คนมากขึ้นเรื่อยๆ เพราะสามารถนำเรื่องที่คนสงสัยมาพิสูจน์ให้เห็นจริงได้ แต่ในที่สุดก็ถูกคุกคามจากศาสนาความเชื่อนั้น จนเกิดความลำบากในการดำรงชีวิต

          ปัจจุบันความเชื่อเหล่านั้นยังคงดำเนินอยู่ แต่มีการปรับเปลี่ยนไปบ้างให้เหมาะสมกับสภาพการดำเนินชีวิตในปัจจุบัน แต่ถึงอย่างไรก็ตาม การศึกษาได้มีบทบาทสำคัญในการพัฒนาความคิดของมนุษย์ ปัจจุบันได้มีการทำวิจัยเรื่องการนับถือศาสนาของคนในยุคปัจจุบันในหลายประเทศ พบว่ามีแนวโน้มคนที่จะไม่นับถือศาสนาใดๆ เพิ่มจำนวนมากขึ้น เพราะบางคนมองว่าเป็นเรื่องงมงาย พิสูจน์ไม่ได้ บางคนไม่เห็นประโยชน์จากการมีศาสนา อยากใช้ชีวิตแบบสบายๆ ไม่ต้องมีข้อผูกมัด หรือถูกสร้างกรอบทางความคิดให้กับตน

วันอาทิตย์ที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2564

นมัสการ

                 บทนมัสการ

            กราบพระ3 ครั้ง
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
คำนมัสการบูชาพระรัตนตรัย
อิมินา สักกาเรนะ ตัง พุทธัง อะภิปูชะยามิอิมินา สักกาเรนะ ตัง ธัมมัง อะภิปูชะยามิอิมินา สักกาเรนะ ตัง สังฆัง อะภิปูชะยามิ
โย โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ,
( พระผู้มีพระภาคเจ้า เป็นผู้ไกลจากกิเลส เป็นผู้ตรัสรู้ชอบได้ด้วยพระองค์เอง )
สวากขาโต เยนะ ภะคะวะตา ธัมโม,
( พระธรรมอันพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์ใด ตรัสไว้ดีแล้ว )
สุปะฏิปันโน ยัสสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
( พระสงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า พระองค์ใด ปฏิบัติดีแล้ว )
ตัมมะยัง ภะคะวันตัง สะธัมมัง สะสังฆัง
อิเมหิ สักกาเรหิ ยะถาระหัง อาโรปิเตหิ อะภิปูชะยามะ,
( ข้าพเจ้าทั้งหลาย ขอบูชาอย่างยิ่งซึ่งพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น พร้อมทั้งพระธรรมและพระสงฆ์
ด้วยเครื่องสักการะทั้งหลายเหล่านี้ อันยกขึ้นไว้ตามสมควรแล้วอย่างไร )
สาธุ โน ภันเต ภะคะวา สุจิระปะรินิพพุโตปิ,
( ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ พระผู้มีพระภาคเจ้าแม้ปรินิพพานนานแล้ว ทรงสร้างคุณอันสำเร็จประโยชน์ไว้แก่ข้าพเจ้าทั้งหลาย )
ปัจฉิมาชะนะตานุกัมปะมานะสา,
( ทรงมีพระหฤทัยอนุเคราะห์แก่พวกข้าพเจ้า อันเป็นชนรุ่นหลัง )
อิเม สักกาเร ทุคคะตะปัณณาการะภูเต ปะฏิคคัณหาตุ,
( ขอพระผู้มีพระภาคเจ้าจงรับเครื่องสักการะ อันเป็นบรรณาธิการของคนยากทั้งหลายเหล่านี้ )
อัมหากัง ทีฆะรัตตัง หิตายะ สุขายะ ฯ
( เพื่อประโยชน์และความสุขแก่ข้าพเจ้าทั้งหลาย ตลอดกาลนานเทอญ 
ข้าพเจ้าขอบูชาพระรัตนตรัยด้วยตลอดเวลา ด้วยการเจริญภาวนารู้ลมหายใจเข้าออกทุกครั้งไป พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ตลอดทุกเวลาทุกอริยาบททุกสภาวะอารมณ์ของข้าพเจ้าทุกเมื่อ เพื่อเป็นเครื่องสักการะบูชาแด่พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์เทอญสาธุ

คำนมัสการพระรัตนตรัย

อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ ฯ (กราบ)
สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม ธัมมัง นะมัสสามิ ฯ (กราบ)
สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สังฆัง นะมามิ ฯ (กราบ)
คำนมัสการสรรเสริญพระพุทธเจ้า
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ

คำนมัสการขอขมากรรมพระรัตนตรัย

สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะ เม ภันเต อุกาสะ ทะวารัตตะเยนะ กะตัง 
สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะ เม ภันเต อุกาสะ ขะมามิ ภันเต 
หากข้าพเจ้า จงใจหรือประมาทพลาดพลั้ง ล่วงเกินบิดา-มารดา ครูบาอาจารย์ พระพุทธ พระธรรม พระอรหันต์ทุกพระองค์ พระอริยสงฆ์เจ้า ตลอดจนสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลาย รวมถึงผู้มีพระคุณ และท่านเจ้ากรรมนายเวร จะด้วยกาย วาจา ใจ 
ขอได้โปรดอโหสิกรรมแก่ข้าพเจ้าด้วย หากข้าพเจ้ามีเจ้าของในตัวติดตามมา ข้าพเจ้าขออนุญาตมีคู่ มีครอบครัวได้เหมือนคนปกติทั่วไป ขอถอนคำอธิษฐาน คำสาบานที่จะติดตามคู่ในอดีตขอให้ต่างฝ่ายต่างเป็นอิสระ ข้าพเจ้าจะประพฤติตนในทางที่ถูก ที่ชอบ ที่ควร ขอบุญบารมีในอดีตกาลที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบัน จงส่งผลให้ข้าพเจ้าและครอบครัว ตลอดจนบริวารที่เกี่ยวข้อง จงเจริญด้วยอายุ วรรณะ สุขะ พละ ลาภ ยศ สรรเสริญ สติปัญญา ปฏิภาณ ธนสารสมบัติ อุปสรรคใด ๆ โรคภัยใด ๆ ขอให้มลายสิ้นไป ขอให้ข้าพเจ้ามีความสว่างทั้งทางโลกและทางธรรม ตั้งแต่บัดนี้จนตราบเข้าสู่นิพพานเทอญ 
ข้าพเจ้าขอถอนคำสัญญา คำสาบาน คำอธิษฐาน ที่ผูกมัดตัวเองและผู้อื่น ขอให้ต่างฝ่ายต่างเป็นอิสระจากสัญญาทั้งปวง (หากข้าพเจ้าหมดอายุแล้ว ข้าพเจ้าขออยู่ต่อเพื่อสร้างบารมี) หากมีผู้ใดเคยสร้างเวรสร้างกรรมกับข้าพเจ้า ไม่ว่าจะชาติใดภพใดก็ตาม ข้าพเจ้ายินดีอโหสิกรรมให้ ขอถอนความอาฆาต ความพยาบาท และคำสาปแช่งในทุกชาติ ทุกภพ ขอให้ข้าพเจ้าพ้นจากคำสาปแช่งของปวงชนของเจ้ากรรม ขอให้พ้นจากนรกภูมิ และพบแสงสว่างทั้งทางโลกและทางธรรมด้วยเทอญสาธุ

คำนมัการขออโหสิกรรม
กายะกัมมัง วะจีกัมมัง มะโนกัมมัง สัญจิจจะกัมมัง
อะสัญจิจจะกัมมัง ขะมันตุ เม อะโหสิกัมมัง ภะวะตุ เม" 
กรรมใดๆ ไม่ว่าจะเป็น กายกรรม วจีกรรม มโนกรรม ที่ข้าพเจ้าได้ทำล่วงเกินแก่ผู้ใดทั้งโดยตั้งใจก็ดี ไม่ได้ตั้งใจก็ดี ในภพชาติใดก็ตาม ขอให้เจ้ากรรม นายเวรทั้งหลาย จงโปรดยกโทษ ให้เป็นอโหสิกรรมให้แก่ข้าพเจ้าอย่าได้ จองเวรจองกรรม ต่อกันอีกเลย แม้แต่กรรมใดที่ใครๆ ทำแก่ข้าพเจ้าก็ตาม ข้าพเจ้าขออโหสิกรรม ให้ทั้งสิ้น …. ยกถวายพระพุทธเจ้า เป็นอภัยทาน ขอจงดลใจให้เขาเหล่านั้น กลับมีเมตตาจิต คิดเป็นมิตรกับข้าพเจ้า เพื่อจะได้ไม่มีเวรกรรมต่อกันตลอดไป 
ด้วยอานิสงส์แห่งอภัยทานนี้ ขอให้ข้าพเจ้า พร้อมทั้งครอบครัว ตลอดจน…วงศาคณาญาติ ผู้มีอุปการคุณ ของข้าพเจ้าพ้นจากความทุกข์ยาก ลำบาก เข็ญใจ ความทุกข์อย่าได้ใกล้ ความเจ็บไข้อย่าได้มี ขอให้มีความสุขสวัสดี มีชัย เสนียดจัญไร และ อุปัทวันตรายทั้งหลาย จงเสื่อมสิ้นหายไป นึกคิดปรารถนาสิ่งใด ที่เป็นไปโดยชอบ ประกอบด้วยธรรม ขอให้สิ่งนั้น จงสำเร็จพลัน เทอญ "นิพพานัง ปัจจะโย โหตุ" ข้าพเจ้า ณ บัดนี้เกิดจิตสำนึกผิดถึงผลกรรมที่ส่งผล แม้ในภพนี้ข้าพเจ้าจะจำไม่ได้ก็ดี ข้าพเจ้าก็ขอขมาต่อโทษของภพใหม่ที่ปิดบังต่อความทุจริตที่มีต่อพวกท่านทั้งหลาย บัดนี้ข้าพเจ้ารู้สึกผิดชอบชั่วดี จึงขอขมาลาโทษต่อพวกท่านทั้งหลาย อย่าได้มีเวรแก่กันและกันเลย 
อย่าได้ผูกเวรแก่กันและกันเลย
ขอให้บุญใดๆ ที่เกิดมาจากกาย วาจา ใจ สุจริตทั้งหมดทั้งสิ้นของข้าพเจ้า จงเกิดเป็นบุญที่กาย ที่จิตของท่าน ขอความเป็นผู้หมดสิ้นไปในเวรในกรรม จงมีแก่ท่านและข้าพเจ้า ณ กาลบัดนี้เทอญ..สาธุ

คำนมัสการ อาราธนาศิล
มะยัง ภันเต วิสุง วิสุง รักขะนัตถายะ ติสะระเณนะ สะหะ ปัญจะ สีลานิ ยาจามะ
ทุติยัมปิ มะยังภันเต วิสุง วิสุง รักขะนัตถายะ ติสะระเณนะ สะหะ ปัญจะ สีลานิ ยาจามะ
ตะติยัมปิ มะยังภันเต วิสุง วิสุง รักขะนัตถายะ ติสะระเณนะ สะหะ ปัญจะ สีลานิ ยาจามะ

คำนมัสการสรรเสริญพระพุทธเจ้า
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ

นมัสการไตรสรณคมน์
พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
คำนมัสการ สมาทานศีล 5
ปาณาติปาตา เวระมณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
อทินนาทานา เวระมณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
กาเมสุมิจฉาจารา เวระมณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
มุสาวาทา เวระมณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
ข้าพเจ้าขอตั้งสัจจะจิตอธิษฐานต่อพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ พระมหาโพธิสัตว์ทั้งหลาย องค์เทพเทวาทั้งหลาย ต่อแต่นี้ไปข้าพเจ้าจะขอรักษาศีล 5 ให้บริสุทธิ์ดังเดิม 
บัดนี้ข้าพเจ้า... ตั้งใจรักษาศีลแล้ว, บัดนี้ข้าพเจ้า... คือผู้มีศีล,
ข้าพเจ้าผู้มีศีล ละอาย ต่อการทำความชั่ว กลัว ต่อผลของบาปกรรม,
ข้าพเจ้าผู้มีศีล มีหิริโอตตัปปะ, มีกายเป็นมนุษย์ มีใจเป็นเทวดา,
เป็นมนุสสเทโว เข้าถึงความเป็นสหาย กับเหล่าเทวดาทั้งหลาย,
ขอ เทพ พรหม เทวดาทั้งหลาย ผู้เป็นสหายของข้าพเจ้า ร่วมโมทนาบุญ
และ เมตตา ปกป้อง คุ้มครองรักษา ข้าพเจ้า ด้วยเทอญ.........
ข้าพเจ้าเจริญภาวนาขอตั้งจิตอธิษฐานสัจจะว่าข้าพเจัาขอรักษาศิลห้าให้บริบูรณ์ดีครบทุกประการโดยอย่างเคร่งครัดด้วยตลอดเวลา ด้วยการเจริญภาวนาว่ารู้ลมหายใจเข้าออกทุกครั้งไป พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ตลอดทุกอริยาบททุกเวลาทุกสภาวะอารมณ์ของข้าพเจ้าทุกเมื่อเทอญสาธุ
อิมานิ ปัญจะ สิกขาปะทานิ สะมาทิยามิ (กล่าว 3 จบ)
   นั่งทำสมาธิ10นาทีขื้นไป
   ออกจากสมาธิแล้วให้สวดบทนี้👇
            นมัสการแผ่เมตตาให้ตนเอง
           อะหัง สุขิโต โหมิ (ขอให้ข้าพเจ้ามีความสุข)
           อะหัง นิททุกโข โหมิ (ขอให้ข้าพเจ้าปราศจากความทุกข์)
           อะหัง อะเวโร โหมิ (ขอให้ข้าพเจ้าปราศจากเวร)
           อะหัง อัพยาปัชโฌ โหมิ (ขอให้ข้าพเจ้าปราศจากอุปสรรคอันตรายทั้งปวง
           สุขี อัตตานัง ปะริหะรามิ (ขอให้ข้าพเจ้าจงมีความสุขกายสุขใจ รักษากายวาจาใจให้พ้นจากความทุกข์ภัยทั้งปวงเถิด)
นมัสการแผ่เมตตาไปสู่ผู้อื่น
             สัพเพ สัตตา สุขิตา โหนตุ นิททุกขา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ 
             ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง จงถึงความสุข ปราศจากความทุกข์ ไม่มีเวร ไม่มีภัย ไม่มีความคับแค้นใจ จงมีความสุขกายสุขใจ รักษาตนให้พ้นจากทุกข์ภัยทั้งปวงเถิดฯ
บทแผ่เมตตาทั่วไป
             สัพเพ สัตตา สัตว์ทั้งหลายที่เป็นเพื่อนทุกข์ เกิดแก่เจ็บตายด้วยกันทั้งหมดทั้งสิ้น
             อะเวราโหนตุ จงเป็นสุขเป็นสุขเถิด อย่าได้มีเวรแก่กันและกันเลย
             อัพยาปัชฌาโหนตุ จงเป็นสุขเป็นสุขเถิด อย่าได้เบียดเบียนซึ่งกันและกันเลย
             อะนีฆาโหนตุ จงเป็นสุขเป็นสุขเถิด อย่าได้มีความทุกข์กายทุกข์ใจเลย
             สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ จงมีแต่ความสุขกายสุขใจ รักษาตนให้พ้นจากทุกข์ภัยทั้งสิ้นเถิด
   สัพเพ สัตตา สัตว์ทั้งหลายที่เป็นเพื่อนทุกข์ เกิด แก่ เจ็บ ตาย ด้วยกันทั้งสิ้น
อะเวรา โหนตุ จงเป็นผู้ไม่มีเวรแก่กันและกันเถิด
อัพยาปัชฌา โหนตุ จงเป็นผู้ไม่เบียดเบียนซึ่งกันและกัน
อะนีฆา โหนตุ จงเป็นผู้ไม่มีทุกข์กาย ทุกข์ใจเถิด
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ จงเป็นผู้มีสุข พ้นจากทุกข์ภัยทั้งสิ้นเถิด    
อิทัง เม มาตาปิตูนัง โหตุ สุขิตา โหนตุ มาตาปิตะโร 
            ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จแก่มารดา บิดาของข้าพเจ้า ขอให้มารดา บิดาของข้าพเจ้ามีความสุข
            อิทัง เม ญาตีนัง โหตุ สุขิตา โหนตุ ญาตะโย 
            ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จแก่ญาติทั้งหลายของข้าพเจ้า ขอให้ญาติทั้งหลายของข้าพเจ้ามีความสุข
            อิทัง เม คุรูปัชฌายาจริยานัง โหตุ สุขิตา โหนตุ คุรูปัชฌายาจริยา 
            ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จแก่ครูอุปัชฌาย์อาจารย์ของข้าพเจ้า ขอให้ครูอุปัชฌาย์อาจารย์ของข้าพเจ้ามีความสุข
            อิทัง สัพพะเทวะตานัง โหตุ สุขิตา โหนตุ สัพเพเทวา 
            ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จแก่เทวดาทั้งหลายทั้งปวง ขอให้เทวดาทั้งหลายทั้งปวงมีความสุข
            อิทัง สัพพะเปตานัง โหตุ สุขิตา โหนตุ สัพเพ เปตา 
            ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จแก่เปรตทั้งหลายทั้งปวง ขอให้เปรตทั้งหลายทั้งปวงมีความสุข
            อิทัง สัพพะเวรีนัง โหตุ สุขิตา โหนตุ สัพเพเวรี 
   ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จแก่เจ้ากรรมนายเวรทั้งหลายทั้งปวง ขอให้เจ้ากรรมนายเวรทั้งหลายทั้งปวงมีความสุข
            อิทัง สัพพะสัตตานัง โหตุ สุขิตา โหนตุ สัพเพ สัตตา 
            ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จแก่สัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ขอให้สัตว์ทั้งหลายทั้งปวงมีความสุขทั่วหน้ากันเทอญ

บทกรุณา

สัพเพ สัตตา สัตว์ทั้งหลายที่เป็นเพื่อนทุกข์ เกิด แก่ เจ็บ ตาย ด้วยกันทั้งสิ้น
สัพพะทุกขา ปะมุจจันตุ จงพ้นจากทุกข์เถิด

บทมุทิตา
สัพเพ สัตตา สัตว์ทั้งหลายที่เป็นเพื่อนทุกข์ เกิด แก่ เจ็บ ตาย ด้วยกันทั้งสิ้น
มา ลัทธะสัมปัตติโต วิมุจจันตุ จงอย่าไปปราศจากสมบัติอันตนได้แล้วเถิด

บทอุเบกขา
สัพเพ สัตตา สัตว์ทั้งหลายที่เป็นเพื่อนทุกข์ เกิด แก่ เจ็บ ตาย ทั้งสิ้น
กัมมัสสะกา เป็นผู้มีกรรมเป็นของของตน
กัมมะทายาทา เป็นผู้รับผลของกรรม
กัมมะโยนิ เป็นผู้มีกรรมเป็นกำเนิด
กัมมะพันธุ เป็นผู้มีกรรมเป็นเผ่าพันธุ์
กัมมะปะฏิสะระณา เป็นผู้มีกรรมเป็นที่พึ่งอาศัย
ยัง กัมมัง กะริสสันติ กระทำกรรมอันใดไว้
กัลยาณัง วา ปาปะกัง วา ดีหรือชั่ว
ตัสสะ ทายาทา ภะวิสสันติ จักเป็นผู้รับผลของกรรมนั้น
ข้าพเจ้าเจริญภาวนาขอแผ่แมตตาต่างๆให้กับข้าพเจ้าและ เจ้ากรรมนายเวรทั้งหลายตลอดจนถึงบิดามารดาครูบาอาจารย์ผู้มีพระคุณและสรรพสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง องค์เทพเทวาทั้งหลาย ภูติทั้งหลายทั้งปวงท่านทั้งหลายได้ยินได้ฟังได้รับรู้เห็นแล้วในขณะนี้จากข้าพเจ้าขอให้ท่านทั้งหลายจงอนุโมทนาบุญเองเถิดข้าพเจ้าได้อุทิศส่วนบุญกุศลไปให้แล้วดัวยตลอดเวลา ด้วยการเจริญภาวนารู้ลมหายใจเข้าออกทุกครั้งไป พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ตลอดทุกเวลาทุุกสภาวะอารมณ์ของข้าพเจ้าทุกเมื่อเทอญสาธุ

ข้าพเจ้าขอด้วยการเป็นผู้เจริญภาวนารู้ลมหายใจเข้าออกทุกครั้งไป พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ด้วยตลอดทุกเวลาทุกอริยาบททุกสภาวะอารมณ์ของข้าพเจ้าทุกเมื่อ ด้วยอานุภาพเจริญภาวนามนต์นี้เป็นมนต์อันที่ศักสิทธิ์ไม่มีมนต์อื่นใดเทียบได้ข้าพเจ้าผู้บำเพ็ญเจริญภาวนามนต์นี้ข้าพเจ้าเป็นผู้ขอนมัสการสักการะบูชาด้วยการปฏิบัติบูชาอันสถานเดียวขอบูชา พระพุทธเจ้า พระธรรมเจ้า พระสงฆ์เจ้า พระมหาโพธิสัตว์ องค์เทพเทวาอารักษ์ พลังแห่งความดีทั้งหลายพร้อมน้อมเข้าสู่จิตกายวาจาของข้าพเจ้า 
ข้าพเจ้าเป็นผู้อยู่เหนือพลังบาปอกุศลกรรมทั้งปวง เหนือขันห้า เหนือกิเลสตัณหาราคะอุปาทานทั้งปวง เหนือโลก เหนือกฏแห่งกรรม เหนือโลกธรรมแปด เหนืออายตนะสิบสอง เหนือธรรมทั้งปวง เป็นผู้ขอโทษและให้อภัยต่อผู้อื่นและตนเองตลอดจนเจ้ากรรมนายเวรทั้งหลายทุกท่าน
ผู้ตั้งสัจจะอธิษฐานด้วยจิตกายวาจาว่าเป็นผู้ละเว้นขาดจากพลังบาปอกุศลกรรมทั้งหลายทั้งปวงต่อพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ พระมหาโพธิสัตว์ องค์เทพเทวาอารักษ์ แล้วนะบัดนี้
ข้าพเจ้าเป็นผู้มีศีลอันบริสุทธิ์บริบูรณ์ดีแล้วครบทุกประการ
ผู้เจริญเมตตากรุณามุทิตาอุเบกขา ต่อผู้อื่นและตนเองดีแล้ว
 ผู้ได้ชำระล้างพลังบาปอกุศลกรรมทั้งปวง เอาออกจากจิตกายวาจาอันบริบูรณ์และสะอาดดีแล้วด้วยการปฏิบัติบูชาของข้าพเจัาครบทุกประการ
ผู้มีจิตกายวาจาอันบริสุทธิ์ผุดผ่องอ่อนน้อมถ่อมตนดีแล้วด้วยการปฏิบัติบูชาของข้าพเจ้าครบทุกประการ
ผู้มีจิตจำนงต่อโลกศุทธิไวฑูรย์ อันมีพระไภษัชยคุรุไวทูรยประภาตถาคตเจ้าอันทรงเป็นพระพุทธเจ้านั้นแล้ว
เป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน ผู้รู้สึกดีหนอ ผู้ปลื้มปิติภูมิใจตนเองหนอ ผู้รู้อันธรรมดาหนอ ผู้รู้สึกสุขกายสบายใจดีหนอ ผู้ปล่อยวางแล้วหนอ ผู้เจริญมรรคแปดดีแล้วหนอ
ผู้เชื่อและปฏิบัติพระธรรมคำสอนพระพุทธเจ้าอันสถานเดียว
ข้าพเจ้าเป็นผู้บำเพ็ญเจริญภาวนามนต์อันศักสิทธิ์นี้ดัวยการเจริญภาวนารู้ลมหายใจเข้าออกทุกครั้งไปพุทธัง สะระณัง คัจฉามิด้วยตลอดทุกเวลาทุกกิริยาบททุกสภาวะอารมณ์ของข้าพเจ้าทุกเมื่อ เทอญสาธุ
อิทังเมธะนัง ทรัพย์ของข้าพเจ้านี้ ได้มาโดยบริสุทธิ์อันชอบธรรม และการนมัสการเจริญภานาของข้าพเจ้ากระทำโดยเจตนาบริอันบริสุทธิ์ใจ ข้าพเจ้าขอบูชาพระพุทธ บูชาพระธรรม บูชาพระสงฆ์ พระมหาโพธิสัตว์ องค์เทพเทวาอารักษ์
ข้าพเจ้ามีจิตระลึกนึกถึงต่อพระนิพพานในโลกพุทธเกษตรศุทธิไวฑูรย์ขอให้ถึงเมืองแก้ว ขอให้คลาดแคล้วบ่วงมารและปราศจากพลังบาปอกุศลกรรมทั้งปวง
ขอให้พบพระนิพพาน ในโลกพุทธเกษตรศุทธิไวฑูรย์อันมีพระไภษัชยคุรุไวฑูรยประภาตถาคตเจ้า อันทรงเป็นพระพุทธเจ้าในอนาคตกาลของข้าพเจ้าโน้นเถิด ด้วยตลอดเวลาด้วยการเจริญภาวนารู้ลมหายใจเข้าออกทุกครั้งไป พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ด้วยตลอดทุกเวลาทุกอริยาบททุกอารมณ์ของข้าพเจ้าทุกเมื่อเทอญ สาธุ
คำนมัสการพระรัตนตรัย
อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ ฯ (กราบ)
สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม ธัมมัง นะมัสสามิ ฯ (กราบ)
สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สังฆัง นะมามิ ฯ (กราบ)

      จบพิธีนมัสการใหญ่        

นมัสการใหญ่ควรทำอย่างน้อยเดือนละ1ครั้งขื้นไปยิ่งนมัสการเยอะเท่าไรยิ่งดียิ่งสอาดทั้งกายใจวาจาครับ

_______________________________

บทพิธีนมัสการในเวลาระหว่างวัน ตั้งแต่เวลาตีสี่ขื้นไปจนถึงเวลาพักผ่อนนอนหลับควรทำนมัสการอย่างน้อยวันละ1ครั้งขื้น

ก่อนอื่นกราบพระรัตนตรัย3ครั้ง

คำนมัสการพระรัตนตรัย
อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ ฯ (กราบ)
สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม ธัมมัง นะมัสสามิ ฯ (กราบ)
สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สังฆัง นะมามิ ฯ (กราบ)

คำนมัสการ อาราธนาศิล
มะยัง ภันเต วิสุง วิสุง รักขะนัตถายะ ติสะระเณนะ สะหะ ปัญจะ สีลานิ ยาจามะ
ทุติยัมปิ มะยังภันเต วิสุง วิสุง รักขะนัตถายะ ติสะระเณนะ สะหะ ปัญจะ สีลานิ ยาจามะ
ตะติยัมปิ มะยังภันเต วิสุง วิสุง รักขะนัตถายะ ติสะระเณนะ สะหะ ปัญจะ สีลานิ ยาจามะ
คำนมัสการสรรเสริญพระพุทธเจ้า
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
นมัสการไตรสรณคมน์
พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
คำนมัสการ สมาทานศีล 5
ปาณาติปาตา เวระมณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
อทินนาทานา เวระมณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
กาเมสุมิจฉาจารา เวระมณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
มุสาวาทา เวระมณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
ข้าพเจ้าขอตั้งสัจจะจิตอธิษฐานต่อพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ พระมหาโพธิสัตว์ทั้งหลาย องค์เทพเทวาทั้งหลาย ต่อแต่นี้ไปข้าพเจ้าจะขอรักษาศีล 5 ให้บริสุทธิ์ดังเดิม 
บัดนี้ข้าพเจ้า... ตั้งใจรักษาศีลแล้ว, บัดนี้ข้าพเจ้า... คือผู้มีศีล,
ข้าพเจ้าผู้มีศีล ละอาย ต่อการทำความชั่ว กลัว ต่อผลของบาปกรรม,
ข้าพเจ้าผู้มีศีล มีหิริโอตตัปปะ, มีกายเป็นมนุษย์ มีใจเป็นเทวดา,
เป็นมนุสสเทโว เข้าถึงความเป็นสหาย กับเหล่าเทวดาทั้งหลาย,
ขอ เทพ พรหม เทวดาทั้งหลาย ผู้เป็นสหายของข้าพเจ้า ร่วมโมทนาบุญ
และ เมตตา ปกป้อง คุ้มครองรักษา ข้าพเจ้า ด้วยเทอญ.........
ข้าพเจ้าเจริญภาวนาขอตั้งจิตอธิษฐานสัจจะว่าข้าพเจัาขอรักษาศิลห้าให้บริบูรณ์ดีครบทุกประการโดยอย่างเคร่งครัดด้วยตลอดเวลา ด้วยการเจริญภาวนาว่ารู้ลมหายใจเข้าออกทุกครั้งไป พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ตลอดทุกอริยาบททุกเวลาทุกสภาวะอารมณ์ของข้าพเจ้าทุกเมื่อเทอญสาธุ
อิมานิ ปัญจะ สิกขาปะทานิ สะมาทิยามิ (กล่าว 3 จบ)

คำนมัสการขอขมากรรมพระรัตนตรัย
สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะ เม ภันเต อุกาสะ ทะวารัตตะเยนะ กะตัง 
สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะ เม ภันเต อุกาสะ ขะมามิ ภันเต 
กายะกัมมัง วะจีกัมมัง มะโนกัมมัง สัญจิจจะกัมมัง
อะสัญจิจจะกัมมัง ขะมันตุ เม อะโหสิกัมมัง ภะวะตุ เม
หากข้าพเจ้า จงใจหรือประมาทพลาดพลั้ง ล่วงเกินบิดา-มารดา ครูบาอาจารย์ พระพุทธ พระธรรม พระอรหันต์ทุกพระองค์ พระอริยสงฆ์เจ้า ตลอดจนสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลาย รวมถึงผู้มีพระคุณ และท่านเจ้ากรรมนายเวร จะด้วยกาย วาจา ใจ 
ขอได้โปรดอโหสิกรรมแก่ข้าพเจ้าด้วย หากข้าพเจ้ามีเจ้าของในตัวติดตามมา ข้าพเจ้าขออนุญาตมีคู่ มีครอบครัวได้เหมือนคนปกติทั่วไป ขอถอนคำอธิษฐาน คำสาบานที่จะติดตามคู่ในอดีตขอให้ต่างฝ่ายต่างเป็นอิสระ ข้าพเจ้าจะประพฤติตนในทางที่ถูก ที่ชอบ ที่ควร ขอบุญบารมีในอดีตกาลที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบัน จงส่งผลให้ข้าพเจ้าและครอบครัว ตลอดจนบริวารที่เกี่ยวข้อง จงเจริญด้วยอายุ วรรณะ สุขะ พละ ลาภ ยศ สรรเสริญ สติปัญญา ปฏิภาณ ธนสารสมบัติ อุปสรรคใด ๆ โรคภัยใด ๆ ขอให้มลายสิ้นไป ขอให้ข้าพเจ้ามีความสว่างทั้งทางโลกและทางธรรม ตั้งแต่บัดนี้จนตราบเข้าสู่นิพพานเทอญ 
ข้าพเจ้าขอถอนคำสัญญา คำสาบาน คำอธิษฐาน ที่ผูกมัดตัวเองและผู้อื่น ขอให้ต่างฝ่ายต่างเป็นอิสระจากสัญญาทั้งปวง (หากข้าพเจ้าหมดอายุแล้ว ข้าพเจ้าขออยู่ต่อเพื่อสร้างบารมี) หากมีผู้ใดเคยสร้างเวรสร้างกรรมกับข้าพเจ้า ไม่ว่าจะชาติใดภพใดก็ตาม ข้าพเจ้ายินดีอโหสิกรรมให้ ขอถอนความอาฆาต ความพยาบาท และคำสาปแช่งในทุกชาติ ทุกภพ ขอให้ข้าพเจ้าพ้นจากคำสาปแช่งของปวงชนของเจ้ากรรม ขอให้พ้นจากนรกภูมิ และพบแสงสว่างทั้งทางโลกและทางธรรมด้วยเทอญสาธุ
กรรมใดๆ ไม่ว่าจะเป็น กายกรรม วจีกรรม มโนกรรม ที่ข้าพเจ้าได้ทำล่วงเกินแก่ผู้ใดทั้งโดยตั้งใจก็ดี ไม่ได้ตั้งใจก็ดี ในภพชาติใดก็ตาม ขอให้เจ้ากรรม นายเวรทั้งหลาย จงโปรดยกโทษ ให้เป็นอโหสิกรรมให้แก่ข้าพเจ้าอย่าได้ จองเวรจองกรรม ต่อกันอีกเลย แม้แต่กรรมใดที่ใครๆ ทำแก่ข้าพเจ้าก็ตาม ข้าพเจ้าขออโหสิกรรม ให้ทั้งสิ้น …. ยกถวายพระพุทธเจ้า เป็นอภัยทาน ขอจงดลใจให้เขาเหล่านั้น กลับมีเมตตาจิต คิดเป็นมิตรกับข้าพเจ้า เพื่อจะได้ไม่มีเวรกรรมต่อกันตลอดไป 
ด้วยอานิสงส์แห่งอภัยทานนี้ ขอให้ข้าพเจ้า พร้อมทั้งครอบครัว ตลอดจน…วงศาคณาญาติ ผู้มีอุปการคุณ ของข้าพเจ้าพ้นจากความทุกข์ยาก ลำบาก เข็ญใจ ความทุกข์อย่าได้ใกล้ ความเจ็บไข้อย่าได้มี ขอให้มีความสุขสวัสดี มีชัย เสนียดจัญไร และ อุปัทวันตรายทั้งหลาย จงเสื่อมสิ้นหายไป นึกคิดปรารถนาสิ่งใด ที่เป็นไปโดยชอบ ประกอบด้วยธรรม ขอให้สิ่งนั้น จงสำเร็จพลัน เทอญ "นิพพานัง ปัจจะโย โหตุ" ข้าพเจ้า ณ บัดนี้เกิดจิตสำนึกผิดถึงผลกรรมที่ส่งผล แม้ในภพนี้ข้าพเจ้าจะจำไม่ได้ก็ดี ข้าพเจ้าก็ขอขมาต่อโทษของภพใหม่ที่ปิดบังต่อความทุจริตที่มีต่อพวกท่านทั้งหลาย บัดนี้ข้าพเจ้ารู้สึกผิดชอบชั่วดี จึงขอขมาลาโทษต่อพวกท่านทั้งหลาย อย่าได้มีเวรแก่กันและกันเลย 
อย่าได้ผูกเวรแก่กันและกันเลย
ขอให้บุญใดๆ ที่เกิดมาจากกาย วาจา ใจ สุจริตทั้งหมดทั้งสิ้นของข้าพเจ้า จงเกิดเป็นบุญที่กาย ที่จิตของท่าน ขอความเป็นผู้หมดสิ้นไปในเวรในกรรม จงมีแก่ท่านและข้าพเจ้า ณ กาลบัดนี้เทอญ..สาธุ
ด้วยตลอดเวลาด้วยการเจริญภาวนารู้ลมหายใจเข้าออกทุกครั้งไป พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ด้วยตลอดทุกเวลาทุกอริยาบททุกสภาวะอารมภ์ของข้าพเจ้าทุกเมื่อเทอญสาธุ

คำนมัสการสรรเสริญตนเอง
ข้าพเจ้าขอด้วยการเป็นผู้เจริญภาวนารู้ลมหายใจเข้าออกทุกครั้งไป พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ด้วยตลอดทุกเวลาทุกอริยาบททุกสภาวะอารมณ์ของข้าพเจ้าทุกเมื่อ ด้วยอานุภาพเจริญภาวนามนต์นี้เป็นมนต์อันที่ศักสิทธิ์ไม่มีมนต์อื่นใดเทียบได้ข้าพเจ้าผู้บำเพ็ญเจริญภาวนามนต์นี้ข้าพเจ้าเป็นผู้ขอนมัสการสักการะบูชาด้วยการปฏิบัติบูชาอันสถานเดียวขอบูชา พระพุทธเจ้า พระธรรมเจ้า พระสงฆ์เจ้า พระมหาโพธิสัตว์ องค์เทพเทวาอารักษ์ พลังแห่งความดีทั้งหลายพร้อมน้อมเข้าสู่จิตกายวาจาของข้าพเจ้า 
ข้าพเจ้าเป็นผู้อยู่เหนือพลังบาปอกุศลกรรมทั้งปวง เหนือขันห้า เหนือกิเลสตัณหาราคะอุปาทานทั้งปวง เหนือโลก เหนือกฏแห่งกรรม เหนือโลกธรรมแปด เหนืออายตนะสิบสอง เหนือธรรมทั้งปวง ผู้ขอโทษให้อภัยต่อผู้อื่นและตนเองตลอดจนเจ้ากรรมนายเวรทั้งหลายทุกท่าน
ผู้ตั้งสัจจะอธิษฐานด้วยจิตกายวาจาว่าเป็นผู้ละเว้นขาดจากพลังบาปอกุศลกรรมทั้งหลายทั้งปวงต่อพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ พระมหาโพธิสัตว์ องค์เทพเทวาอารักษ์ แล้วนะบัดนี้
ข้าพเจ้าเป็นผู้มีศีลอันบริสุทธิ์บริบูรณ์ดีแล้วครบทุกประการ
ผู้เจริญเมตตากรุณามุทิตาอุเบกขา ต่อผู้อื่นและตนเองดีแล้ว
 ผู้ได้ชำระล้างพลังบาปอกุศลกรรมทั้งปวง เอาออกจากจิตกายวาจาอันบริบูรณ์และสะอาดดีแล้วด้วยการปฏิบัติบูชาของข้าพเจ้าครบทุกประการ
ผู้มีจิตกายวาจาอันบริสุทธิ์ผุดผ่องอ่อนน้อมถ่อมตนดีแล้วด้วยการปฏิบัติบูชาของข้าพเจ้าครบทุกประการ
ผู้มีจิตจำนงต่อโลกศุทธิไวฑูรย์ อันมีพระไภษัชยคุรุไวทูรยประภาตถาคตเจ้าอันทรงเป็นพระพุทธเจ้านั้นแล้ว
เป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน ผู้รู้สึกดีหนอ ผู้ปลื้มปิติภูมิใจตนเองหนอ ผู้รู้อันธรรมดาหนอ ผู้รู้สึกสุขกายสบายใจดีหนอ ผู้ปล่อยวางแล้วหนอ ผู้เจริญมรรคแปดดีแล้วหนอ
ผู้เชื่อและปฏิบัติพระธรรมคำสอนพระพุทธเจ้าอันสถานเดียว
ข้าพเจ้าเป็นผู้บำเพ็ญเจริญภาวนามนต์อันศักสิทธิ์นี้ดัวยการเจริญภาวนารู้ลมหายใจเข้าออกทุกครั้งไปพุทธัง สะระณัง คัจฉามิด้วยตลอดทุกเวลาทุกกิริยาบททุกสภาวะอารมณ์ของข้าพเจ้าทุกเมื่อ เทอญสาธุ
อิทังเมธะนัง ทรัพย์ของข้าพเจ้านี้ ได้มาโดยบริสุทธิ์อันชอบธรรม และการนมัสการเจริญภานาของข้าพเจ้ากระทำโดยเจตนาบริอันบริสุทธิ์ใจ ข้าพเจ้าขอบูชาพระพุทธ บูชาพระธรรม บูชาพระสงฆ์ พระโพธิสัตว์ องค์เทพเทวาอารักษ์
ข้าพเจ้ามีจิตระลึกนึกถึงต่อพระนิพพานในโลกธาตุพุทธเกษตรศุทธิไวฑูรย์ขอให้ถึงเมืองแก้ว ขอให้คลาดแคล้วบ่วงมารและปราศจากพลังบาปอกุศลกรรมทั้งปวง
ขอให้พบพระนิพพาน ในโลกพุทธเกษตรศุทธิไวฑูรย์อันมีพระไภษัชยคุรุไวฑูรยประภาตถาคตเจ้า อันทรงเป็นพระพุทธเจ้าในอนาคตกาลของข้าพเจ้า ด้วยการเจริญภาวนารู้ลมหายใจเข้าออกทุกครั้งไป พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ด้วยตลอดทุกเวลาทุกกิริยาบททุกอารมณ์ของข้าพเจ้าทุกเมื่อเทอญ สาธุ

บทนมัสการชำระล้างขันห้า
ด้วยบทสวด ปฏิจจสมุปบาท

(นำ) หันทะ มะยัง ปะฏิจจะสะมุปปาทะธัมมะปาฐัง ภะณามะ เส ฯ

(รับ) อิธะ ภิกขะเว อะริยะสาวะโก
ปะฏิจจะสะมุปปาทัญเญวะ สาธุกัง โยนิโส มะนะสิกะโรติ
- ภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกในธรรมวินัยนี้ ย่อมกระทำไว้ในใจ
โดยแยบคายเป็นอย่างดี ซึ่งปฏิจจสมุปบาทนั่นเทียว ดังนี้ว่า

อิมัส๎มิง สะติ อิทัง โหติ
- เมื่อสิ่งนี้มี สิ่งนี้ย่อมมี

อิมัสสุปปาทา อิทัง อุปปัชชะติ
- เพราะความเกิดขึ้นแห่งสิ่งนี้ สิ่งนี้จึงเกิดขึ้น

อิมัส๎มิง อะสะติ อิทัง นะ โหติ
- เมื่อสิ่งนี้ไม่มี สิ่งนี้ย่อมไม่มี

อิมัสสะ นิโรธา อิทัง นิรุชฌะติ
- เพราะความดับไปแห่งสิ่งนี้ สิ่งนี้จึงดับไป

ยะทิทัง

- ได้แก่สิ่งเหล่านี้ คือ

อะวิชชาปัจจะยา สังขารา
- เพราะมีอวิชชาเป็นปัจจัย จึงมีสังขารทั้งหลาย

สังขาระปัจจะยา วิญญาณัง
- เพราะมีสังขารเป็นปัจจัย จึงมีวิญญาณ

วิญญาณะปัจจะยา นามะรูปัง
- เพราะมีวิญญาณเป็นปัจจัย จึงมีนามรูป

นามะรูปะปัจจะยา สะฬายะตะนัง
- เพราะมีนามรูปเป็นปัจจัย จึงมีสฬายตนะ

สะฬายะตะนะปัจจะยา ผัสโส
- เพราะมีสฬายตนะเป็นปัจจัย จึงมีผัสสะ

ผัสสะปัจจะยา เวทะนา
- เพราะมีผัสสะเป็นปัจจัย จึงมีเวทนา

เวทะนาปัจจะยา ตัณหา
- เพราะมีเวทนาเป็นปัจจัย จึงมีตัณหา

ตัณหาปัจจะยา อุปาทานัง
- เพราะมีตัณหาเป็นปัจจัย จึงมีอุปาทาน

อุปาทานะปัจจะยา ภะโว
- เพราะมีอุปาทานเป็นปัจจัย จึงมีภพ

ภะวะปัจจะยา ชาติ
- เพราะมีภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ

ชาติปัจจะยา ชะรามะระณัง
โสกะปะริเทวะทุกขะโทมะนัสสุปายาสา สัมภะวันติ
- เพราะมีชาติเป็นปัจจัย ชรา มรณะ โสกะปริเทวะทุกขโทมนัส
อุปายาสะทั้งหลาย จึงเกิดขึ้นครบถ้วน

เอวะเมตัสสะ เกวะลัสสะ ทุกขักขันธัสสะสะมุทะโย โหติ
- ความเกิดขึ้นพร้อมแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้

อะวิชชายะเต๎ววะ อะเสสะวิราคะนิโรธา สังขาระนิโรโธ
- เพราะความจางคลายดับไปโดยไม่เหลือ
แห่งอวิชชานั้นนั่นเทียว จึงมีความดับแห่งสังขาร

สังขาระนิโรธา วิญญาณะนิโรโธ
- เพราะมีความดับแห่งสังขาร จึงมีความดับแห่งวิญญาณ

วิญญาณะนิโรธา นามะรูปะนิโรโธ
- เพราะมีความดับแห่งวิญญาณ จึงมีความดับแห่งนามรูป

นามะรูปะนิโรธา สะฬายะตะนะนิโรโธ
- เพราะมีความดับแห่งนามรูป จึงมีความดับแห่งสฬายตนะ

สะฬายะตะนะนิโรธา ผัสสะนิโรโธ
- เพราะมีความดับแห่งสฬายตนะ จึงมีความดับแห่งผัสสะ

ผัสสะนิโรธา เวทะนานิโรโธ
- เพราะมีความดับแห่งผัสสะ จึงมีความดับแห่งเวทนา
เวทะนานิโรธา ตัณหานิโรโธ
- เพราะมีความดับแห่งเวทนา จึงมีความดับแห่งตัณหา

ตัณหานิโรธา อุปาทานะนิโรโธ
- เพราะมีความดับแห่งตัณหา จึงมีความดับแห่งอุปาทาน

อุปาทานะนิโรธา ภะวะนิโรโธ
- เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ

ภะวะนิโรธา ชาตินิโรโธ
- เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ

ชาตินิโรธา ชะรามะระณัง
โสกะปะริเทวะทุกขะโทมะนัสสุปายาสา นิรุชฌันติ

- เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล ชรา มรณะ
โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสะทั้งหลาย จึงดับสิ้น

เอวะเม ตัสสะ เกวะลัสสะ ทุกขักขันธัสสะ นิโรโธ โหตีติ
- ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้ ดังนี้   

ข้าพเจ้าขอเจริญภาวนาพุทธมนต์บทนี้ด้วยตลอดเวลาด้วยการเจริญภาวนารู้ลมหายใจเข้าออกทุกครั้งไป  พุทธัง สะระณัง  คัจฉามิ ตลอดทุกเวลาทุกอริยาบททุกอารมณ์ของข้าพเจ้าทุกเมื่อเทอญสาธุ  

ข้าพเจ้าขอสวัสดีท่านทัังหลายขอให้ท่านทังหลายทุกท่านจึงมีความสุขกายสบายใจ ความเจ็บไข้ได้ป่วยความยากจนจงลดน้อยถอยลงเถิด อุปสรรคอันตรายทั้งปวงอัปมงคลทั้งปวงความทุกข์ทั้งปวงสิ่งชั่วร้ายทั้งปวงพลังบาปอกุศลกรรมทั้งปวง จงมลายดับสูญสิ้นสลายไปเถิด อายุวรรณะสุขะพละ ความอยู่ดีมีสุข

ความปลื้มปิติยินดี ความภาคภูมิใจตนเอง

ความบันเทิงเริงใจ ผู้รู้ผู้ตื่นผู้เบิกบาน บุญกุศลกรรมทั้งปวงทั้งหมดนี้จงมีแต่ท่านเถิด ขอให้ท่านจงรับอนุโมทนาสาธุเองเถิด
ข้าพเจ้าอวยพรชัยและอนุโมทนาให้ท่านแล้ว ด้วยการข้าพเจ้าเป็นผู้เจริญภาวนารู้ลมหายใจเข้าออกทุกครั้งไป  พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ด้วยตลอดทุกเวลาทุกอริยาบททุกสภาวะอารมณ์ของข้าพเจ้าทุกเมื่อเทอญสาธุ
พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ

คำนมัสการพระรัตนตรัย
อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ ฯ (กราบ)
สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม ธัมมัง นะมัสสามิ ฯ (กราบ)
สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สังฆัง นะมามิ ฯ (กราบ)

จบพิธีนมัสการในเวลาระหว่างวัน ตั้งแต่เวลาตีสี่ขื้นไปจนถึงเวลาพักผ่อนนอนหลับควรทำนมัสการอย่างน้อยวันละ1ครั้งขื้น

วันเสาร์ที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2564

บทปฏิญาณตนรับไทพุทธัง

พิธีกรรมปฏิญาณตนเข้ารับไทพุทธัง
กราบพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ (3 ครั้ง) แล้วจึงเริ่มต้นกล่าวบทสวดตามปกติ

นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
คำนมัสการบูชาพระรัตนตรัย
อิมินา สักกาเรนะ ตัง พุทธัง อะภิปูชะยามิ
อิมินา สักกาเรนะ ตัง ธัมมัง อะภิปูชะยามิ
อิมินา สักกาเรนะ ตัง สังฆัง อะภิปูชะยามิ
โย โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ,
( พระผู้มีพระภาคเจ้า เป็นผู้ไกลจากกิเลส เป็นผู้ตรัสรู้ชอบได้ด้วยพระองค์เอง )
สวากขาโต เยนะ ภะคะวะตา ธัมโม,
( พระธรรมอันพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์ใด ตรัสไว้ดีแล้ว )
สุปะฏิปันโน ยัสสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
( พระสงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า พระองค์ใด ปฏิบัติดีแล้ว )
ตัมมะยัง ภะคะวันตัง สะธัมมัง สะสังฆัง
อิเมหิ สักกาเรหิ ยะถาระหัง อาโรปิเตหิ อะภิปูชะยามะ,
( ข้าพเจ้าทั้งหลาย ขอบูชาอย่างยิ่งซึ่งพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น พร้อมทั้งพระธรรมและพระสงฆ์
ด้วยเครื่องสักการะทั้งหลายเหล่านี้ อันยกขึ้นไว้ตามสมควรแล้วอย่างไร )
สาธุ โน ภันเต ภะคะวา สุจิระปะรินิพพุโตปิ,
( ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ พระผู้มีพระภาคเจ้าแม้ปรินิพพานนานแล้ว ทรงสร้างคุณอันสำเร็จประโยชน์ไว้แก่ข้าพเจ้าทั้งหลาย )
ปัจฉิมาชะนะตานุกัมปะมานะสา,
( ทรงมีพระหฤทัยอนุเคราะห์แก่พวกข้าพเจ้า อันเป็นชนรุ่นหลัง )
อิเม สักกาเร ทุคคะตะปัณณาการะภูเต ปะฏิคคัณหาตุ,
( ขอพระผู้มีพระภาคเจ้าจงรับเครื่องสักการะ อันเป็นบรรณาธิการของคนยากทั้งหลายเหล่านี้ )
อัมหากัง ทีฆะรัตตัง หิตายะ สุขายะ ฯ
( เพื่อประโยชน์และความสุขแก่ข้าพเจ้าทั้งหลาย ตลอดกาลนานเทอญ 
ข้าพเจ้าขอบูชาพระรัตนตรัยด้วยตลอดเวลา ด้วยการเจริญภาวนารู้ลมหายใจเข้าออกทุกครั้งไป พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ตลอดทุกเวลาทุกสภาวะอารมณ์ของข้าพเจ้าทุกเมื่อ เพื่อเป็นเครื่องสักการะบูชาแด่พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์เทอญสาธุ

คำนมัสการพระรัตนตรัย
อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ ฯ (กราบ)
สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม ธัมมัง นะมัสสามิ ฯ (กราบ)
สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สังฆัง นะมามิ ฯ (กราบ)
คำนมัสการสรรเสริญพระพุทธเจ้า
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ

คำนมัสการขอขมากรรมพระรัตนตรัย

สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะ เม ภันเต อุกาสะ ทะวารัตตะเยนะ กะตัง 
สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะ เม ภันเต อุกาสะ ขะมามิ ภันเต 
หากข้าพเจ้า จงใจหรือประมาทพลาดพลั้ง ล่วงเกินบิดา-มารดา ครูบาอาจารย์ พระพุทธ พระธรรม พระอรหันต์ทุกพระองค์ พระอริยสงฆ์เจ้า ตลอดจนสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลาย รวมถึงผู้มีพระคุณ และท่านเจ้ากรรมนายเวร จะด้วยกาย วาจา ใจ 
ขอได้โปรดอโหสิกรรมแก่ข้าพเจ้าด้วย หากข้าพเจ้ามีเจ้าของในตัวติดตามมา ข้าพเจ้าขออนุญาตมีคู่ มีครอบครัวได้เหมือนคนปกติทั่วไป ขอถอนคำอธิษฐาน คำสาบานที่จะติดตามคู่ในอดีตขอให้ต่างฝ่ายต่างเป็นอิสระ ข้าพเจ้าจะประพฤติตนในทางที่ถูก ที่ชอบ ที่ควร ขอบุญบารมีในอดีตกาลที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบัน จงส่งผลให้ข้าพเจ้าและครอบครัว ตลอดจนบริวารที่เกี่ยวข้อง จงเจริญด้วยอายุ วรรณะ สุขะ พละ ลาภ ยศ สรรเสริญ สติปัญญา ปฏิภาณ ธนสารสมบัติ อุปสรรคใด ๆ โรคภัยใด ๆ ขอให้มลายสิ้นไป ขอให้ข้าพเจ้ามีความสว่างทั้งทางโลกและทางธรรม ตั้งแต่บัดนี้จนตราบเข้าสู่นิพพานเทอญ 
ข้าพเจ้าขอถอนคำสัญญา คำสาบาน คำอธิษฐาน ที่ผูกมัดตัวเองและผู้อื่น ขอให้ต่างฝ่ายต่างเป็นอิสระจากสัญญาทั้งปวง (หากข้าพเจ้าหมดอายุแล้ว ข้าพเจ้าขออยู่ต่อเพื่อสร้างบารมี) หากมีผู้ใดเคยสร้างเวรสร้างกรรมกับข้าพเจ้า ไม่ว่าจะชาติใดภพใดก็ตาม ข้าพเจ้ายินดีอโหสิกรรมให้ ขอถอนความอาฆาต ความพยาบาท และคำสาปแช่งในทุกชาติ ทุกภพ ขอให้ข้าพเจ้าพ้นจากคำสาปแช่งของปวงชนของเจ้ากรรม ขอให้พ้นจากนรกภูมิ และพบแสงสว่างทั้งทางโลกและทางธรรมด้วยเทอญสาธุ

คำนมัการขออโหสิกรรม
กายะกัมมัง วะจีกัมมัง มะโนกัมมัง สัญจิจจะกัมมัง
อะสัญจิจจะกัมมัง ขะมันตุ เม อะโหสิกัมมัง ภะวะตุ เม" 

กรรมใดๆ ไม่ว่าจะเป็น กายกรรม วจีกรรม มโนกรรม ที่ข้าพเจ้าได้ทำล่วงเกินแก่ผู้ใดทั้งโดยตั้งใจก็ดี ไม่ได้ตั้งใจก็ดี ในภพชาติใดก็ตาม ขอให้เจ้ากรรม นายเวรทั้งหลาย จงโปรดยกโทษ ให้เป็นอโหสิกรรมให้แก่ข้าพเจ้าอย่าได้ จองเวรจองกรรม ต่อกันอีกเลย แม้แต่กรรมใดที่ใครๆ ทำแก่ข้าพเจ้าก็ตาม ข้าพเจ้าขออโหสิกรรม ให้ทั้งสิ้น …. ยกถวายพระพุทธเจ้า เป็นอภัยทาน ขอจงดลใจให้เขาเหล่านั้น กลับมีเมตตาจิต คิดเป็นมิตรกับข้าพเจ้า เพื่อจะได้ไม่มีเวรกรรมต่อกันตลอดไป 
ด้วยอานิสงส์แห่งอภัยทานนี้ ขอให้ข้าพเจ้า พร้อมทั้งครอบครัว ตลอดจน…วงศาคณาญาติ ผู้มีอุปการคุณ ของข้าพเจ้าพ้นจากความทุกข์ยาก ลำบาก เข็ญใจ ความทุกข์อย่าได้ใกล้ ความเจ็บไข้อย่าได้มี ขอให้มีความสุขสวัสดี มีชัย เสนียดจัญไร และ อุปัทวันตรายทั้งหลาย จงเสื่อมสิ้นหายไป นึกคิดปรารถนาสิ่งใด ที่เป็นไปโดยชอบ ประกอบด้วยธรรม ขอให้สิ่งนั้น จงสำเร็จพลัน เทอญ "นิพพานัง ปัจจะโย โหตุ" ข้าพเจ้า ณ บัดนี้เกิดจิตสำนึกผิดถึงผลกรรมที่ส่งผล แม้ในภพนี้ข้าพเจ้าจะจำไม่ได้ก็ดี ข้าพเจ้าก็ขอขมาต่อโทษของภพใหม่ที่ปิดบังต่อความทุจริตที่มีต่อพวกท่านทั้งหลาย บัดนี้ข้าพเจ้ารู้สึกผิดชอบชั่วดี จึงขอขมาลาโทษต่อพวกท่านทั้งหลาย อย่าได้มีเวรแก่กันและกันเลย 
อย่าได้ผูกเวรแก่กันและกันเลย
ขอให้บุญใดๆ ที่เกิดมาจากกาย วาจา ใจ สุจริตทั้งหมดทั้งสิ้นของข้าพเจ้า จงเกิดเป็นบุญที่กาย ที่จิตของท่าน ขอความเป็นผู้หมดสิ้นไปในเวรในกรรม จงมีแก่ท่านและข้าพเจ้า ณ กาลบัดนี้เทอญ..สาธุ
คำนมัสการสรรเสริญพระพุทธเจ้า
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ

นมัสการไตรสรณคมน์

พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉา
ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไปข้าพเจ้าขอตั้งอธิษฐานจิตกายวาจา ขอปฏิญาณตนว่าข้าพเจ้าขอจงรักภักดีและนมัสการะบูชาอันเป็นสรณะของข้าพเจ้าอันมีต่อพระรัตนตรัย.คือพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์เทอญสาธุ   ข้าพเจ้าขอปฏิญาณตนว่าข้าพเจ้าจะไม่มีธรรมและความเชื่ออื่นใดนอกจากพระธรรมคำสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเท่านั้นเทอญสาธุ   ข้าพเจ้าขอปฏิญาณตนว่าข้าพเจ้าขอเป็น
ไทพุทธังด้วยตลอดชีวิตของข้าพเจ้าเทอญสาธุ  ข้าพเจ้าขอปฏิญาณตนว่าข้าพเจ้าเป็นผู้ของดละเว้นขาดจากการกระทำให้เกิดเป็นพลังบาปอกุศลกรรมทั้งปวงเทอญสาธุ  ข้าพเจ้าขอปฏิญาณตนว่าข้าพเจ้าเป็นผู้ดำรงรักษาศิลของข้าพเจ้าให้บริบูรณ์ดึครบทุกประการด้วยตลอดกาลเทอญสาธุข้าพเจ้าขอปฏิญาณตนว่าข้าพเจ้าขอเป็นผู้เจริญภานารู้ลมหายใจเข้าทุกครั้งไป พุทธัง สะระณัง คัจฉามิด้วยตลอดทุกเวลาทุกอริยาบททุกสภาวะทางอารมณ์ของข้าพเจ้าทุกเมื่อเทอญสาธุ  ข้าพเจ้าขอปฏิญาณตนว่าข้าพเจ้าเป็นผู้ขอนมัสการอย่างน้อยวันละ1ครั้งขื้นไปเทอญสาธุ  ข้าพเจ้าขอปฏิญานตนว่าข้าพเจ้าเป็นผู้มีความเชื่อกฏแแห่งกรรมทุกประการ การกระทำความดีเป็นความดีย่อมจะได้รับผลดี การกระทำความชั่วเป็นความชั่วย่อมจะได้รับผลชั่วนั้นเทอญสาธุ  ข้าพเจ้าขออัญเชิญพระพุทธเจ้า พระธรรม พระสงฆ์ พระมหาโพธิสัตว์ทุกพระองค์  องค์เทพเทวาอารักษ์ทุกพระองค์  ภูติทั้งปวง อันทรงโปรดรับรู้เห็นเป็นสักขีพยานและร่วมอนุโมทนาบุญกุศลกรรมในการเข้ารับปฏิญาณตนครั้งนี้ของข้าพเจ้าด้วยเทอญสาธุ  ข้าพเจ้าขอตั้งอธิษฐานจิตกายวาจาเป็นผู้ขอรักษาคำปฏิญาณตนของข้าพเจ้าด้วยการเจริญภาวนารู้ลมหายใจเข้าออกทุกครั้งไป พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ด้วยตลอดทุกเวลาทุกอริยาบททุกสภาวะทางอารมณ์ของข้าพเจ้าทุกเมื่อเทอญสาธุ  
พระพุทธเจ้า พระธรรม พระสงฆ์ พระมหาโพธิสัตว์ทุกองค์ องค์เทพเทวาอารักษ์ทุกพระองค์ ภูติทั้งปวง มนุษย์ทั้งหลายทั้งปวง ตั่งแต่บัดนี้เป็นต้นไปจงโปรดจำข้าพเจ้าไว้ว่าข้าพเจ้าเป็นชน
ไทพุทธัง   จงเรียกข้าพเจ้าว่า
ไทพุทธังตั้งแต่นะบัดนี้เป็นต้นไปนั้นเทอญสาธุ
คำนมัสการ อาราธนาศิล
มะยัง ภันเต วิสุง วิสุง รักขะนัตถายะ ติสะระเณนะ สะหะ ปัญจะ สีลานิ ยาจามะ
ทุติยัมปิ มะยังภันเต วิสุง วิสุง รักขะนัตถายะ ติสะระเณนะ สะหะ ปัญจะ สีลานิ ยาจามะ
ตะติยัมปิ มะยังภันเต วิสุง วิสุง รักขะนัตถายะ ติสะระเณนะ สะหะ ปัญจะ สีลานิ ยาจามะ

คำนมัสการสรรเสริญพระพุทธเจ้า
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ

นมัสการไตรสรณคมน์

พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
คำนมัสการ สมาทานศีล 5
ปาณาติปาตา เวระมณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
อทินนาทานา เวระมณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
กาเมสุมิจฉาจารา เวระมณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
มุสาวาทา เวระมณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
ข้าพเจ้าขอตั้งสัจจะจิตอธิษฐานต่อพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ พระมหาโพธิสัตว์ทั้งหลาย องค์เทพเทวาทั้งหลาย ต่อแต่นี้ไปข้าพเจ้าจะขอรักษาศีล 5 ให้บริสุทธิ์ดังเดิม 
บัดนี้ข้าพเจ้า... ตั้งใจรักษาศีลแล้ว, บัดนี้ข้าพเจ้า... คือผู้มีศีล,
ข้าพเจ้าผู้มีศีล ละอาย ต่อการทำความชั่ว กลัว ต่อผลของบาปกรรม,
ข้าพเจ้าผู้มีศีล มีหิริโอตตัปปะ, มีกายเป็นมนุษย์ มีใจเป็นเทวดา,
เป็นมนุสสเทโว เข้าถึงความเป็นสหาย กับเหล่าเทวดาทั้งหลาย,
ขอ เทพ พรหม เทวดาทั้งหลาย ผู้เป็นสหายของข้าพเจ้า ร่วมโมทนาบุญ
และ เมตตา ปกป้อง คุ้มครองรักษา ข้าพเจ้า ด้วยเทอญ.........
ข้าพเจ้าเจริญภาวนาขอตั้งจิตอธิษฐานสัจจะว่าข้าพเจัาขอรักษาศิลห้าให้บริบูรณ์ดีครบทุกประการโดยอย่างเคร่งครัดด้วยตลอดเวลา ด้วยการเจริญภาวนาว่ารู้ลมหายใจเข้าออกทุกครั้งไป พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ตลอดทุกเวลาทุกอริยาบททุกสภาวะอารมณ์ของข้าพเจ้าทุกเมื่อเทอญสาธุ
อิมานิ ปัญจะ สิกขาปะทานิ สะมาทิยามิ (กล่าว 3 จบ)

นมัสการงดละเว้นพลังบาปอกุศลกรรมทั้งปวง
ข้าพเจ้าเจริญภาวนาขอตั้งจิตกายวาจาขอสัจจะอธิษฐานว่าข้าพเจ้าของดละเว้นขาดจากการ
กระทำให้เกิดเป็นพลังบาปอกุศลกรรมต่อพระพุทธพระธรรม พระสงฆ์ ข้าพเจ้าขอรักษาสัจจะเป็นผู้ของดละเว้นขาดจากการกระทำให้เกิดเป็นพลังบาปอกุศลกรรมครบทุกประการ ด้วยตลอดเวลา ด้วยการเจริญภาวนารู้ลมหายใจเข้าออกทุกครั้งไป พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
ตลอดทุกเวลาทุกอริยาบททุกสภาวะอารมณ์ของข้าพเจ้าทุกเมื่อเทอญสาธุคำนมัสการพระรัตนตรัย
อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ ฯ (กราบ)
สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม ธัมมัง นะมัสสามิ ฯ (กราบ)
สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สังฆัง นะมามิ ฯ (กราบ)
จบพิธีปฏิญาณตนเข้ารับไทพุทธัง